ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
Multimedia Production บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
2
สารบัญ อุปกรณ์สื่อมัลติมีเดีย การแปลงสื่อดิจิทัล
กระบวนการผลิตสื่อมัลติมีเดีย การวางแผนสร้างสื่อมัลติมีเดีย ข้อดีและข้อเสียของสื่อมัลติมีเดีย จริยธรรมแห่งวิชาชีพข่าววิทยุและโทรทัศน์ พ.ศ. 2553 บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
3
อุปกรณ์สื่อมัลติมีเดีย
บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
4
อุปกรณ์สื่อมัลติมีเดีย
เครื่องเล่นเพลง เช่น เครื่องเล่น MP3 ซึ่งเป็นรูปแบบการบีบอัดไฟล์เสียง ลดขนาดของไฟล์อย่างมาก คุณภาพลดลงเล็กน้อย บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
5
อุปกรณ์สื่อมัลติมีเดีย
Personal Digital Assistant (PDA) PDA เป็นคอมพิวเตอร์แบบมือถือ จัดการข้อมูลส่วนบุคคล สมุดบันทึกที่อยู่ รายการงาน และเครื่องคิดเลข บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
6
อุปกรณ์สื่อมัลติมีเดีย
กล้องดิจิทัล เก็บภาพในรูปแบบดิจิทัลไว้ในอุปกรณ์หน่วยความจำ เช่น การ์ดหน่วยความจำแฟลชหรือฮาร์ดไดรฟ์ บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
7
อุปกรณ์สื่อมัลติมีเดีย
กล้องวิดีโอแบบดิจิทัล บันทึกวิดีโอและเก็บไว้ในรูปแบบดิจิทัล บันทึกภาพเคลื่อนไหวและเสียง HDD/แผ่น DVD ที่บันทึกได้ บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
8
อุปกรณ์สื่อมัลติมีเดีย
คอมพิวเตอร์และโน้ตบุ๊ค เครื่องมือช่วยในการจัดการข้อมูล สามารถกำหนดชุดคำสั่งล่วงหน้าหรือโปรแกรมได้ ประมวลผลข้อมูล, จัดเก็บข้อมูล บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
9
อุปกรณ์สื่อมัลติมีเดีย
โทรศัพท์มือถือ Smart Phone ถ่ายภาพ บันทึกคลิปวิดีโอ ฟังเพลง และเล่นเกม ส่งข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดพกพา และมีการใช้งานเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
10
อุปกรณ์สื่อมัลติมีเดีย
AL บริษัทใดถือว่าเป็นผู้ปฏิวัติด้าน Smart Phone ด้วยเหตุผลใด Apple :: iPhone ใช้หน้าจอสัมผัสเป็นเจ้าแรก ทำให้คนสามารถปฏิสัมพันธ์กับข้อมูลบนมือถือได้โดยตรง AL: ให้นิสิตค้นหาคำตอบเป็นเวลา 5 นาที แล้วให้ตอบคำถาม บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
11
การแปลงสื่อดิจิทัล บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
12
การแปลงสื่อดิจิทัล หลักการพื้นฐานในการแปลงสื่อดิจิทัล
แปลงสัญญาณแอนะล็อกให้เป็นสัญญาณดิจิทัล จัดเก็บหรือส่งข้อมูลดิจิทัล แปลงกลับเป็นสัญญาณแอนะล็อกเมื่อต้องการแสดงผล ฉะนั้น รูปแบบของข้อมูลที่ได้ต้องเป็นตัวเลข (สัญญาณดิจิทัล) บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
13
การแปลงสื่อดิจิทัล ภาพแสดงหลักการแปลงสื่อดิจิทัล A/D Converter
Analog Signal A/D Converter (Encoder) Digital Media Storage D/A Converter (Decoder) บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
14
การแปลงสื่อดิจิทัล Analog to Digital Converter (A/D Converter)
ได้ข้อมูลเป็นสัญญาณดิจิทัลในรูปแบบของเลขฐานสอง บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
15
การแปลงสื่อดิจิทัล Encoder คือ การเข้ารหัสข้อมูล
เป็นกระบวนการในการบีบอัดขนาดของข้อมูลเล็กลง เช่น ภาพ BMP สามารถนำมาบีบอัดให้เป็นภาพ JPEG ที่มีคุณภาพดีใกล้เคียงกัน แต่มีขนาดไฟล์เล็กกว่ามาก บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
16
การแปลงสื่อดิจิทัล สื่อ (Media)
คือการบันทึกข้อมูลลงบนอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ รวมหมายถึงการส่งข้อมูลผ่านการสื่อสารต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต โดยการส่งข้อมูลนั้นมีกลไกในการชดเชยข้อมูลที่อาจจะสูญหายไปในระหว่างการส่ง บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
17
การแปลงสื่อดิจิทัล Digital to Analog Converter (D/A Converter)
ทำหน้าที่ตรงกันข้ามกับ A/D Converter แปลงสัญญาณดิจิทัลให้เป็นแอนะล็อก ได้สัญญาณในรูปแบบสัญญาณต่อเนื่อง มนุษย์สามารถรับรู้ได้ บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
18
การแปลงสื่อดิจิทัล Decoder คือ กระบวนการถอดรหัสข้อมูล
เกิดขึ้นเมื่อต้องการนำข้อมูลดิจิทัลกลับมาใช้งานเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าใจได้ เช่น การดูวีดีทัศน์ที่เก็บไว้ในแผ่น CD, การฟังเพลงจากไฟล์ MP3 เป็นต้น บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
19
กระบวนการผลิตสื่อมัลติมีเดีย
บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
20
กระบวนการผลิตสื่อมัลติมีเดีย
โดยพื้นฐานแล้ว การผลิตสื่อมี 4 ขั้นตอน คือ Pre-Production Production Post-Production Distribution บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
21
กระบวนการผลิตสื่อมัลติมีเดีย
1. การเตรียมตัวก่อนการผลิต หรือ Pre-Production วางแผน หาข้อมูล เขียนแผนโครงเรื่อง (Storyboard) บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
22
กระบวนการผลิตสื่อมัลติมีเดีย
2. การผลิตสื่อ หรือ Production การลงมือปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
23
กระบวนการผลิตสื่อมัลติมีเดีย
3. การปรับแต่งให้เหมาะสม หรือ Post-Production เป็นขั้นตอนการปรับปรุงแก้ไข เติมแต่งให้เหมาะก่อนนำไปเผยแพร่ บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
24
กระบวนการผลิตสื่อมัลติมีเดีย
4. การเผยแพร่ หรือ Distribution ขั้นการนำสู่สาธารณะชน จำแนกออกเป็น 2 ประเภทคือ Offline Online บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
25
กระบวนการผลิตสื่อมัลติมีเดีย
บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
26
กระบวนการผลิตสื่อมัลติมีเดีย
บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
27
กระบวนการผลิตสื่อมัลติมีเดีย
AL หนังเรื่องใดทำรายได้สูงสุดในปี ค.ศ. 2017 AL: ให้เวลานิสิตในการค้นข้อมูล 2 นาที แล้วอภิปราย บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
28
การวางแผนสร้างสื่อมัลติมีเดีย
บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
29
การวางแผนสร้างสื่อมัลติมีเดีย
ขั้นตอนการสร้างสื่อ 1. กำหนดวัตถุประสงค์ในการออกแบบสื่อดิจิทัล ออกแบบเพื่อทำอะไร 2. เตรียมข้อมูลที่เป็น เนื้อหา รูปภาพ ไฟล์วิดีโอ ไฟล์เสียง ที่เกี่ยวข้องกับการทำสื่อดิจิทัล บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
30
การวางแผนสร้างสื่อมัลติมีเดีย
ขั้นตอนการสร้างสื่อ 3. เขียนสารบัญของเนื้อหา โดยกำหนดหัวข้อหลัก และหัวข้อย่อยของเนื้อหา 4. เขียน Script บันทึกขั้นตอนการทำงาน ถ้าสื่อนั้นเป็นบันทึกเป็นภาพเคลื่อนไหวหรือวิดีโอ 5. เขียนแผนโครงเรื่อง (Storyboard) บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
31
ข้อดีและข้อเสียของสื่อมัลติมีเดีย
บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
32
ข้อดีและข้อเสียของสื่อมัลติมีเดีย
1. ความคงทน คือ การเสื่อมสภาพจะใช้เวลานาน เพราะรูปแบบในการจัดเก็บข้อมูลนั้นยากต่อการผิดเพี้ยน 2. รูปแบบการนำไปใช้งานทำได้หลากหลายวิธี เช่น ถ่ายรูปด้วยกล้องดิจิทัล เมื่อได้ข้อมูลภาพออกมาแล้วสามารถพิมพ์ลงบนกระดาษ หรือแสดงภาพบนจอคอมพิวเตอร์ หรือแสดงภาพบนจอทีวี เป็นต้น บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
33
ข้อดีและข้อเสียของสื่อมัลติมีเดีย
3. การนำไปผสมผสานกับสื่อรูปแบบอื่น เช่น การถ่ายภาพ นำมารวมกับเสียง 4. การปรับแต่ง (Edit) ทำได้ง่าย เป็นการปรับแต่งสื่อที่เป็นภาพถ่าย วีดีโอ เสียง ให้ดีขึ้นกว่าเดิม 5. ขนาดของไฟล์ที่เล็ก แต่คงคุณภาพของสื่อ บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
34
ข้อดีและข้อเสียของสื่อมัลติมีเดีย
สามารถทำผิดศีลธรรมได้ง่าย เช่น การละเมิดสิทธิของผู้อื่น การนำเอาภาพคนอื่นมาตัดต่อกับภาพที่ไม่เหมาะสม เกิดความเสียหายในวงกว้าง เช่น การแชร์สื่อที่เป็นเท็จ ทำให้คนอื่นเสียหายหรือเดือดร้อน บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
35
จริยธรรมแห่งวิชาชีพข่าววิทยุและโทรทัศน์ พ.ศ. 2553
บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
36
จริยธรรมแห่งวิชาชีพข่าววิทยุและโทรทัศน์ พ.ศ. 2553
โดย สภาวิชาชีพข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย พ.ศ. 2553 แบ่งเป็น 4 หมวด คือ หมวดทั่วไป จริยธรรมของวิทยุและโทรทัศน์ จริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพข่าว แนวปฏิบัติของผู้ประกอบวิชาชีพข่าว บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
37
จริยธรรมแห่งวิชาชีพข่าววิทยุและโทรทัศน์ พ.ศ. 2553
“โทรทัศน์” หมายถึง สถานีวิทยุโทรทัศน์ หรือรายการทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ รวมทั้งการกระจายสัญญาณวิทยุโทรทัศน์แบบบอกรับเป็นสมาชิกและการกระจายสัญญาณวิทยุโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ทั้งนี้ ให้รวมถึงการทำให้ปรากฏเป็นเสียงและภาพ เพื่อสื่อความหมายด้วยวิธีอื่นใด ที่เป็นการเสนอข่าวโดยทั่วไปและความคิดเห็นโดยสถานีหรือรายการนั้นด้วย บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
38
จริยธรรมแห่งวิชาชีพข่าววิทยุและโทรทัศน์ พ.ศ. 2553
AL คลิปนี้น่าจะผิดจริยธรรมหรือไม่ 1. เห็นด้วยว่าผิด 2. เห็นด้วยว่าไม่ผิด AL: ให้นิสิตยกมือว่า ใครเห็นด้วยว่าผิดจริยธรรม ใครไม่เห็นด้วย แล้วให้วิเคราะห์หาเหตุผล หมายเหตุ คลิปนี้เป็น viral marketing ของ burger King ซึ่งเล่นกับความรู้สึกของผู้บริโภคมากเกินไป ขัดต่อจริยธรรม บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
39
จริยธรรมแห่งวิชาชีพข่าววิทยุและโทรทัศน์ พ.ศ. 2553
AL ให้นิสิตหาว่า จริยธรรมแห่งวิชาชีพข่าววิทยุและโทรทัศน์ พ.ศ ข้อ 7 (1), ข้อ 7 (11) และ ข้อ 11 ว่าอย่างไร AL: ให้เวลานิสิต 5 นาทีในการหาข้อมูล บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
40
คำถาม บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.