ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
SRRT ตำบล มาตรฐาน SRRT 2556
2
ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and Rapid Response Team : SRRT)
หมายถึง ทีมงานประจำหน่วยงาน/องค์กร ที่มีพื้นที่รับผิดชอบในการป้องกันควบคุมโรค โดยมีบทบาทภารกิจดังนี้ เฝ้าระวังโรคติดต่อ ที่แพร่ระบาดรวดเร็วรุนแรง ตรวจจับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข สอบสวนโรค อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว ควบคุมโรคขั้นต้น (Containment) ทันที แลกเปลี่ยนข้อมูลและทำงานร่วมกันเป็นเครือข่าย
3
มาตรฐาน SRRT
4
มาตรฐาน SRRT หมายถึง ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ แนวทางปฏิบัติ และ ผลงานที่พึงประสงค์ของทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and Rapid Response Team หรือ SRRT) วัตถุประสงค์ของการนำมาตรฐาน SRRT มาใช้ 1. เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพของทีม SRRT 2. เพื่อใช้เป็นเกณฑ์เปรียบเทียบสมรรถนะ หรือ Benchmark ระหว่างทีม 3. เพื่อเป็นกลไกในการพัฒนาขีดความสามารถด้านการเฝ้าระวังและตอบโต้ทางสาธารณสุขของประเทศ ตามข้อกำหนดในกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR2005)
5
แนวทางพัฒนาทีม SRRT ตามมาตรฐาน
ยกระดับมาตรฐาน/มีสมรรถนะตาม IHR ประเมินตนเองตามมาตรฐาน SRRT ปฏิบัติงาน พัฒนาศักยภาพ, เตรียมการด้วยตนเอง วางแผน, กำหนดเป้าหมาย, เกณฑ์การทำงาน
6
ตัวชี้วัดทั้งหมด (17) ด้านความ เป็นทีม ด้าน ผลงาน ตำบล (11) อำเภอ (13)
ตัวชี้วัดทั้งหมด (17) ตำบล (11) อำเภอ (13) จังหวัด (14) เขต (15) ส่วนกลาง (15) ด้านความ เป็นทีม 1. จัดตั้งทีม * 2. ศักยภาพวิชาการ 3. บริหารทีมงาน พร้อม 4. คน, สิ่งสนับสนุน 5. แผน, การฝึกซ้อม สามารถ การปฏิบัติ งาน 6. การเฝ้าระวังและเตือนภัย 7. การประเมินสถานการณ์และรายงาน 8. สอบสวนโรค 9. การควบคุมโรคขั้นต้น 10. Support อนามัยสิ่งแวดล้อม 11. Support ควบคุมโรค/ตอบโต้ฯ ด้าน ผลงาน 12. ผลงานแจ้งเตือน/รายงานทันเวลา 13. ผลงานสอบสวนครบถ้วน 14. สอบสวน/ควบคุมมีคุณภาพ 15. ผลงานสอบสวนโรครวดเร็ว 16. เขียนรายงานสอบสวนมีคุณภาพ 17. มีผลงานวิชาการฯ
7
องค์ประกอบของมาตรฐาน/ตัวชี้วัด/จน.ตัวชี้วัดย่อย(63)
ด้านความเป็นทีม 1. การจัดตั้งทีม SRRT 2. ทีมมีศักยภาพทางวิชาการ 5 4 ด้านความพร้อม 4. ทีมมีความพร้อมในการปฏิบัติงาน 6 ด้านความ สามารถการปฏิบัติงาน 6. การเฝ้าระวังและเตือนภัย 7. การประเมินสถานการณ์และรายงาน 8. การสอบสวนโรคและภัยสุขภาพ 9. การควบคุมโรคขั้นต้น ด้านผลงาน 12. ผลงานการแจ้งเตือนโรค/ภัยสุขภาพทันเวลา 13. ผลงานด้านความครบถ้วนของการสอบสวนโรค 14. ผลงานด้านคุณภาพการสอบสวนและควบคุมโรค 15. ผลงานด้านความรวดเร็วในการสอบสวนโรค 16. ผลงานด้านคุณภาพการเขียนรายงานสอบสวนโรค 1 42
8
ระดับการผ่านเกณฑ์ ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดย่อย ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด
ไม่ผ่าน + ผ่านบางส่วน ผ่าน ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด ระดับพื้นฐาน (B) : ตัวชี้วัดย่อยรหัส B ผ่านหมด ระดับดี (S) : ตัวชี้วัดย่อยรหัส B และ S ผ่านหมด ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ระดับพื้นฐาน หมายถึง ทุกตัวชี้วัดผ่านเกณฑ์อย่างน้อยระดับพื้นฐาน ระดับดี หมายถึง ทุกตัวชี้วัดผ่านเกณฑ์ระดับดี ระดับดีเยี่ยม หมายถึง ผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับดีติดต่อกัน 2 ครั้ง ***ผลการผ่านเกณฑ์แต่ละระดับใช้ได้ 3 ปี
9
ลำดับการประเมินมาตรฐาน
มาตรฐานทีมเขต/ส่วนกลาง ระดับดี ระดับดีเยี่ยม มาตรฐานทีมเขต/ส่วนกลาง ระดับพื้นฐาน มาตรฐานทีมจังหวัด ระดับดี ระดับดีเยี่ยม มาตรฐานทีมจังหวัด ระดับพื้นฐาน มาตรฐานทีมอำเภอ ระดับดี ระดับดีเยี่ยม มาตรฐานทีมอำเภอ ระดับพื้นฐาน หมายเหตุ - เริ่มต้นประเมินระดับใดก็ได้ - ผลประเมินใช้ได้ 3 ปี - ระดับเยี่ยม = ระดับดี 2 ครั้ง มาตรฐานทีมท้องถิ่น ระดับดี ระดับดีเยี่ยม มาตรฐานทีมท้องถิ่น ระดับพื้นฐาน
10
รายละเอียดตัวชี้วัด (Template) มาตรฐาน SRRT
11
KPI1 : การจัดตั้งทีม SRRT
มาตรฐานความเป็นทีม KPI1 : การจัดตั้งทีม SRRT การผ่านเกณฑ์ พื้นฐาน = 3B ดี = 3B+2S 1) มีคำสั่งแต่งตั้งทีม ที่มีรายชื่อเป็นปัจจุบันร้อยละ 80 ขึ้นไป B 2) สมาชิกทีมมีจำนวนตั้งแต่ 4 คน ขึ้นไป ประกอบด้วยผู้ปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า องค์กร (รพ.สต.แกนหลัก + อปท.,อสม.,รร.,ปศุสัตว์) 3) แกนหลักของทีมเป็นผู้ปฏิบัติงานระบาดวิทยา (เฝ้าระวัง, สอบสวนโรค) 4) สมาชิกทีมอย่างน้อย 1 คน มีความรู้พื้นฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม S 5) หน่วยงานมีการระบุโครงสร้างภายในที่ชัดเจน เพื่อเป็นหน่วย รับผิดชอบการจัดตั้งและเป็นแกนดำเนินงานของทีม SRRT
12
ข้อมูล/หลักฐาน คำสั่งแต่งตั้งทีม SRRT
เอกสารการแบ่งส่วนราชการ, การแบ่งงาน และการมอบหมายหน้าที่ภารกิจฯ
13
1.1 ทีม SRRT เขตบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองคูใหญ่ ประกอบด้วย นายก อบต.เป๊าะ หัวหน้าทีม ประธาน อสม.หมู่ที่ 6 ต.เป๊าะ ทีมงาน ประธาน อสม.หมู่ที่ 7 ต.เป๊าะ ทีมงาน ประธาน อสม.หมู่ที่ 15 ต.เป๊าะ ทีมงาน หัวหน้า ศพด.อบต.เป๊าะ ทีมงาน นายวรเชษ พิมณุวงศ์ ผอ.รพ.สต.หนองคูใหญ่ ทีมงานและเลขานุการ
14
1.2-1.3 องค์ประกอบของทีม SRRT
หัวหน้าทีม นายก อบต.เป๊าะ นพ.ธีระพงษ์ แก้วภมร รพ.สต.หนองคูใหญ่ นายวรเชษฐ์ พิมณุวงศ์ ประธานอสม. นาย..... นาง ครู รร.... นาย หน.ศพด. นาย แกนหลัก ผู้ร่วมทีม
15
1.4สมาชิกทีมที่มีความรู้พื้นฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
หมายถึง สมาชิกทีมที่มีความรู้ความสามารถที่จะปฏิบัติงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ โดยทั่วไปควรเป็น เคยศึกษาทางอนามัยสิ่งแวดล้อม อย่างน้อย ๒ นก. หรือ เคยปฏิบัติงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมไม่น้อยกว่า 3 ปี หรือ เคยผ่านการอบรมด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ข้อ ๑และ ข้อ ๒ /// ข้อ ๑ และ ข้อ๓ / ข้อ ๒ และ ข้อ ๓ แนบใบประกาศผู้สำเร็จการศึกษา สาขาอนามัย สิ่งแวดล้อม หรือคำสั่งแต่งตั้งให้ปฏิบัติงานสวล.มาไม่น้อยกว่า 3 ปี
16
ภารกิจการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ภารกิจการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ งานโรคติดต่อทั่วไป งานควบคุมโรคติดต่อพื้นที่เฉพาะ งานบริหารจัดการภัยพิบัติ โรคติดต่อชายแดน ควบคุมโรคในแรงงานต่างชาติ IHR ไข้เลือดออก อาหารเป็นพิษ หนอนพยาธิ เลปโตสไปโรสิส พิษสุนัขบ้า EPI โรคอุบัติใหม่ ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค สาธารณภัย/ โรคระบาด สื่อสารความเสี่ยง EOC งานระบาดวิทยา งานศึกษาวิจัยและพัฒนา งานโรคติดต่อเรื้อรัง งานสอบสวนโรค งานประเมินสถานการณ์ งานพัฒนาเครือข่าย งานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์วัณโรค โรคเรื้อน ตับอักเสบ พรบ.โรคติดต่อ 2558 งานพัฒนาจริยธรรม
17
KPI2 : ทีมมีศักยภาพทางวิชาการ
มาตรฐานความเป็นทีม KPI2 : ทีมมีศักยภาพทางวิชาการ การผ่านเกณฑ์ พื้นฐาน = 1B ดี = 1B+2S รายการ 1) สมาชิกทีมร้อยละ 80 ขึ้นไป ได้รับการฝึกอบรมการเฝ้าระวังเหตุการณ์หรือ สูงกว่า 2) สมาชิกทีมร้อยละ 50 ขึ้นไป ได้เข้าร่วมประชุม ฟื้นฟูความรู้ ด้านการเฝ้าระวัง เหตุการณ์ หรือการเฝ้าระวังสอบสวนควบคุมโรคทุกปี 3) หัวหน้าทีมหรือแกนหลักของทีมอย่างน้อย 1 คน ได้รับการฝึกอบรมด้านระบาดวิทยาพื้นฐานและมีประสบการณ์ที่แสดงถึงความชำนาญด้านปฏิบัติการภาคสนาม [B] [S]
18
ข้อมูล/หลักฐาน 2.1 ทะเบียนแสดงหลักฐานแสดงการผ่านการฝึกอบรม
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ของสมาชิก ใช้ได้ทุกปีที่จัด แนบตารางอบรม รูปภาพ
19
หัวข้อการฝึกอบรมที่ไป
2.2ประวัติการฝึกอบรม ประชุมของบุคลากรทีม SRRT สสจ.ศรีสะเกษ ชื่อ ตำแหน่ง น วดป. หัวข้อการฝึกอบรมที่ไป หน่วยงาน 22 ก.พ.48 ประชุมเฝ้าระวังและสอบสวนเคลื่อนที่เร็วสำหรับผู้บริหาร สคร.7. 17-19 ก.ค.49 ประชุมการพัฒนาเครือข่ายแพทย์ในการเร่งรัดการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กรม คร. 30 ก.ค.-2 ส.ค.49 สัมมนาวิชาการแบบบูรณาการการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ สคร.7 5-7 ก.พ.50 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาเครือข่ายSRRT ระดับจังหวัดและระดับเขต สนร. 4-7 ก.ย.50 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันโรคและภัยสุขภาพ 11-13 ก.พ.51 สัมมนาวิชาการป้องกันควบคุมโรคแห่งชาติ 13 พ.ค.51 ประชุมจัดทำโครงการป้องกันโรคตามแนวทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง 19-20 ส.ค.51 โครงการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายสำหรับงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กรมคร. 6-7 พ.ค.52 ประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกและไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 15-19 มิ.ย.52 อบรมระบาดวิทยาและการจัดการทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว 23-25 พ.ย.52 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาเครือข่ายระบาดวิทยาและSRRT 14-17 ธ.ค.52 2) สมาชิกทีมร้อยละ 50 ขึ้นไป ได้เข้าร่วมประชุม ฟื้นฟูความรู้ ด้านการเฝ้าระวัง เหตุการณ์ หรือการเฝ้าระวัง
20
คุณลักษณะที่ 3 การวางแผนกำกับติดตามประเมินผล
คุณลักษณะที่ 3 การวางแผนกำกับติดตามประเมินผล การพัฒนาเครือข่าย อบรม SRRT ตำบล พัฒนาวิชาการ SRRT
22
3) หัวหน้าทีมหรือแกนหลักของทีมอย่างน้อย 1 คน ได้รับการฝึกอบรมด้านระบาดวิทยาพื้นฐานและมีประสบการณ์ที่แสดงถึงความชำนาญด้านปฏิบัติการภาคสนาม 2.3 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ มอบเกียรติบัตรฉบับนี้ไว้ เพื่อแสดงว่า นางสาวอรวรรณ ทัดเทียม ได้ผ่านการอบรม หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วระดับอำเภอ/ตำบล ระหว่างวันที่ ๑๕ – ๑๗ กันยายน ๒๕๕๗ ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๗ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗ ( นายประวิ อ่ำพันธุ์ ) นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ
23
เป็นผู้สอบสวนหลักในการสอบสวนการระบาด และมีรายงาน Final report 1 เรื่อง
3) หัวหน้าทีมหรือแกนหลักของทีมอย่างน้อย 1 คน ได้รับการฝึกอบรมด้านระบาดวิทยาพื้นฐานและมีประสบการณ์ที่แสดงถึงความชำนาญด้านปฏิบัติการภาคสนาม เป็นผู้สอบสวนหลักในการสอบสวนการระบาด และมีรายงาน Final report 1 เรื่อง
24
KPI4 : ทีมมีความพร้อมในการฏิบัติงาน
มาตรฐานความพร้อม KPI4 : ทีมมีความพร้อมในการฏิบัติงาน การผ่านเกณฑ์ พื้นฐาน = 3B ดี = 3B+2S รายการ 1) มีหมายเลขโทรศัพท์ หรือการสื่อสารอื่นที่สามารถติดต่อสมาชิกทีมทั้งหมดได้ตลอดเวลา เพื่อรับส่งข่าวสารหรือปฏิบัติงานกรณีเร่งด่วน 2) มีคู่มือ และแนวทางปฏิบัติงาน เพื่อการสอบสวนและควบคุมโรคตามเกณฑ์ที่กำหนด 3) มียานพาหนะที่สามารถนำออกปฏิบัติงานได้ทันที 4) สามารถเข้าถึงวัสดุอุปกรณ์ เวชภัณฑ์ และอุปกรณ์ป้องกันตนเอง (PPE) ที่พร้อมใช้ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 5) มีการจัดงบประมาณ เพื่อใช้ในการสอบสวนควบคุมโรค ส่งวัตถุตัวอย่าง การสื่อสาร ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ B S
25
4.1 สมาชิกทีม และเครือข่ายการสื่อสาร
4.1 สมาชิกทีม และเครือข่ายการสื่อสาร ลำดับ ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง หมายเลขโทรศัพท์ 1 นพ.ธีระพงษ์ แก้วภมร นายแพทย์เชี่ยวชาญด้านเวชกรรมป้องกัน 2 นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรค 3 นางสาวบังอร เหล่าเสถียรกิจ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 4 นางกันยารัตน์ เหล่าเสถียรกิจ 5 นางเกษสุมา วงษ์ไกร 6 นางสาวรัตนี พิมทา 7 นางนงคราญ ไชยวัฒน์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 8 นางสาวศศิธร เจริญประเสริฐ 9 นายศักรินทร์ บุญประสงค์ 10 นางสุมณฑา วิทูราภรณ์ 11 นายบุญประเสริฐ เทศะบำรุง จพ.สาธารณสุขชำนาญงาน 12 นางนฤภัค พิชญธนกร 13 นางวัชรี คลธา 14 นายประภาส สุนันท์ 15 นายอธิวัฒน์ กุลบุตร นักวิชาการสาธารณสุข
26
4.2 คู่มือและแนวทางปฏิบัติ
รายชื่อคู่มือที่มี ด้านการเฝ้าระวัง สอบสวน ควบคุมโรค แนวทางปฏิบัติ ใน 3 โรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่ 4.3 คำสั่งให้ใช้ยานพาหนะในการออกสอบสวนโรค
27
เรื่อง การใช้ยานพาหนะของทางราชการในการออกปฎิบัติงาน
คำสั่งอำเภอ ที่ / 2556 เรื่อง การใช้ยานพาหนะของทางราชการในการออกปฎิบัติงาน เฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกันและควบคุมโรคหรืองานเคลื่อนที่เร็ว ในพื้นที่ เพื่อให้การดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในระดับตำบล/อำเภอ ในกลุ่มงานป้องกันควบคุมโรค ทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อในพื้นที่อำเภอบึงบูรพ์ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบึงบูรพ์ จึงขอกำหนดการใช้ยานพาหนะของทางราชการ ใน การออกปฏิบัติงานเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกันและควบคุมโรค หรืองานเคลื่อนที่เร็ว ของทีม SRRT ในพื้นที่อำเภอบึงบูรพ์ ดังนี้ - ยานพาหนะของทางราช ประจำสำนักงานสาธารณสุขอำเภอบึงบูรพ์ ยี่ห้อ MITZUBISHIหมายเลขทะเบียน นข 1159 ศรีสะเกษ ผู้รับผิชอบ คือ นายสมควร พรหมคุณ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ - ยานพาหนะของทางราช ประจำสำนักงานสาธารณสุขอำเภอบึงบูรพ์ ยี่ห้อ ISUZU หมายเลขทะเบียน บน 3265 ศรีสะเกษ ผู้รับผิชอบ คือ นายสมชาย ทองสูบ
28
ข้อมูล/หลักฐาน รายการสิ่งสนับสนุนการปฏิบัติงานของทีม SRRT ที่หน่วยงาน จัดทำขึ้น แบบสอบสวนโรค, วัสดุอุปกรณ์, แบบสอบ สื่อสุขศึกษา ถุงมือ แมส รองเท้าบูท แอลกอฮอล์ /เจล ถุงร้อนใส หนังยาง กรรไกร สติกเกอร์ ไฟฉาย แบบสำรวจ ลูกน้ำ น้ำยาทำลายเชื้อ ปรอทวัดไข้ แผนงาน/โครงการที่ระบุถึงงบประมาณในการสนับสนุน การสอบสวนและควบคุมโรค
29
KPI6 : การเฝ้าระวังและเตือนภัย
มาตรฐานการปฏิบัติงาน KPI6 : การเฝ้าระวังและเตือนภัย การผ่านเกณฑ์ พื้นฐาน = 4B ดี = 4B+2S รายการ 1) มีการกำหนดรายชื่อโรคหรือภัยที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่รับผิดชอบของทีม (Priority diseases) 2) มีการกำหนดพื้นที่เสี่ยงต่อโรค/ภัยที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่รับผิดชอบ 3) มีการจัดทำทะเบียนรับแจ้งข่าว หรือรับรายงานการเกิดโรค/ภัยที่เป็นปัญหาสำคัญ 4) มีการแจ้งเตือนภัย การส่งข่าว หรือรายงานเบื้องต้น [B] 5) มีการตรวจสอบ กรองข่าวเพื่อแยกข่าวไม่มีมูลและหาสัญญาณภัย (signals) 6) มีการสร้างเครือข่ายแหล่งข้อมูลข่าวสารทั้งในเขตรับผิดชอบ พื้นที่ใกล้เคียง และพื้นที่อื่นที่เกี่ยวข้อง [S]
30
ข้อมูล/หลักฐาน 6.1 รายชื่อโรคหรือภัยที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ และนิยามผู้ป่วย แบบสอบ 6.2 กำหนดพื้นที่เสี่ยงในโรคที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ อย่างน้อย 1โรค 6.3 ทะเบียนรับแจ้งหรือรับรายงานการเกิดโรค/ภัยฯ 6.4 เอกสารหลักฐานในการแจ้งเตือน ส่งข่าว หรือรายงานเบื้องต้น เป็นหนังสือราชการ วาระประชุม ข่าว ฯ แจ้งทางเมล์ ไลน์
31
โรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่
ราษีไศล กันทรลักษ์ ขุขันธ์ การวิเคราะห์และจัดลำดับความสำคัญ ของปัญหา 1)ไข้เลือดออก ปรางค์กู่ ยางชุมน้อย 2)จมน้ำ ชี้เป้าปัญหา ในพื้นที่ ขุขันธ์ ขุนหาญ และ กันทรลักษ์ 3) เลปโตสไปโรซิส วิเคราะห์และจัดลำดับความสำคัญ ของปัญหา 4) วัณโรค อ.เมือง และ ภูสิงห์ 5) อาหารเป็นพิษ อ.น้ำเกลี้ยง อ.ราษีไศล อ.เมือง อ.กันทรารมย์ อ.อุทุมพรพิสัย วิเคราะห์ GAP รายโรค การตั้งค่า เป้าหมาย วางแผน/แนวทาง มาตรการ ดำเนินการ กำกับติดตามประเมินผล
32
สัญญลักษณ์ (เป้าหมาย)
อัตราการรักษาสำเร็จ (Success rate) >85 % จ.ศรีสะเกษ ศิลาลาด บึงบูรพ์ ราษีไศล ยางชุมน้อย เมืองจันทร์ โพธิ์ศรีสุวรรณ กันทรารมย์ อุทุมพรพิสัย สัญญลักษณ์ (เป้าหมาย) เมืองศรีสะเกษ ห้วยทับทัน >90% วังหิน โนนคูณ น้ำเกลี้ยง พยุห์ 85-90% ปรางค์กู่ ปรางค์กู่ ศรีรัตนะ เบญจลักษ์ 80-84% ไพรบึง ขุขันธ์ < 80 % กันทรลักษ์ ขุนหาญ ภูสิงห์
33
ให้ลงให้ครบทุกช่อง ทุกรายการ และเขียนเพิ่มเติมได้
6.3ตัวอย่าง ทะเบียนรับแจ้งข่าวการเกิดโรค ภัย และเหตุการณ์ผิดปกติ ที่สมควรรับแจ้ง ให้ลงให้ครบทุกช่อง ทุกรายการ และเขียนเพิ่มเติมได้ ที่ วัน เดือน ปี ชื่อผู้แจ้ง – แหล่งข่าว/ที่อยู่/โทร เนื้อหาข่าวสารทีได้รับแจ้ง ชื่อผู้รับแจ้ง/เวลา การตรวจสอบข่าวสาร (วิธีการและผล) สรุปความเห็นและการปฏิบัติ ชื่อผู้ปฏิบัติ/วันเวลา 1 12 ม.ค สุจิตรา รพ.ศรีสะเกษ ประเภทข่าว (.....)โรคหรือกลุ่มอาการทั่วไปที่พบ (../...)โรคใหม่ หรือกลุ่มอาการที่ไม่เคยพบในพื้นที่ (.....)เหตุการณ์ที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคในคน ชื่อผู้ป่วย......นายก อายุ อาชีพ....ทำนา ที่อยู่ ม.2 .ต.หญ้าปล้อง...อ.เมือง..จ.ศรีสะเกษ เบอร์โทรศัพท์(ถ้ามี) โรค/อาการสำคัญ/เหตุการณ์สำคัญ ....ไข้ ปวดศีรษะ วันเริ่มป่วย มค วันพบผู้ป่วย มค การรักษา.....กำลังรักษา เหตุการณ์อื่นๆเพิ่มเติม บังอร 12 ม.ค.56 09.00 น. ยืนยันการเกิดโรค/เหตุการณ์ (.....)เป็นโรคติดต่อจริง คือโรค (....)เป็นโรคที่ยังไม่สามารถระบุชนิดได้ (.../..)เป็นการเจ็บป่วยที่ผิดปกติ (.....)เป็นเหตุการณ์ผิดปกติ ผลการตรวจสอบ -พบผู้ป่วย คน -พบผู้เสียชีวิต คน -พบผู้ที่มีอาการสงสัย......คน -พบเหตุการณ์ที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพดงนี้.. วิธีตรวจสอบข่าว (.....)ตรวจสอบด้วยตนเอง (.../..)สอบถาม...พท.รพ.ศก. (.....)แจ้ง SRRT ตำบล (.../..)แจ้ง SRRT อำเภอ (.....)แจ้ง SRRT จังหวัด (.....)แจ้ง SRRT อปท. (.../..)อื่นๆ ระบุ....แจ้งเวียนทุกอำเภอทราบ นำเข้าที่ประชุม. กิจกรรมที่ดำเนินการ (.../..)สอบสวนโรค (.....)ควบคุมโรค (.....)ระงับเหตุอันตราย โดย (.....)อื่นๆ 12 มค.56 13.00 น.
34
6.5 การกรองข่าว การกรองข่าว หมายถึง การดำเนินการทันทีที่รับข่าว เพื่อ
1. กำจัดข่าวลือที่เห็นชัดเจนว่าไม่ถูกต้อง ข่าวหลอกลวง หรือแหล่งข่าวไม่น่าเชื่อถือ 2. แยกข่าวที่เห็นว่าต้องแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน หรือต้องการตรวจสอบยืนยันมาดำเนินการทันที สัญญาณภัย (Signals) หมายถึง สิ่งบอกเหตุที่ชี้ว่าน่าจะมีเหตุการณ์บางอย่างเกิดขึ้น เช่น มีรายงานผู้ป่วยตามรายการโรคที่มีความสำคัญสูง มีจำนวนผู้ป่วยหรือผู้ตายสูงกว่าเกณฑ์ชี้วัดหรือระดับเตือนภัย ข่าวสารไม่เป็นทางการที่มีเนื้อข่าวชัดเจนว่าเป็นเรื่องผิดปกติ
35
ต้องแจ้งและ ออกสอบสวนควบคุม ภายใน 24 ชั่วโมง
ผู้ป่วยด้วยโรคหรือกลุ่มอาการที่มีความสำคัญสูง(Priority diseases) ระดับประเทศ ปี 2555 อหิวาตกโรค (Cholera) โบทูลิซึม (Botulism) การระบาดของโรคอาหารเป็นพิษ (Food poisoning outbreak) พิษสุนัขบ้า (Rabies) ไข้เลือดออก (Dengue infection) หัด (Measles) คอตีบ (Diphtheria) กลุ่มอาการกล้ามเนื้ออ่อนปวกปียกเฉียบพลัน( Acute Flaccid Paralysis : AFP) บาดทะยักในเด็กแรกเกิด (Tetanus neonatorum) ไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal meningitis) ไข้สมองอักเสบ และไข้สมองอักเสบเจแปนนิส (Encephalitis and Japanese Encephalitis ปอดอักเสบเฉียพลันรุนแรง (Severe acute pneumonia) อาการไม่พึงประสงค์ภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (AEFI) เสียชีวิตไม่ทราบสาเหตุสงสัยสาเหตุจากโรคติดต่อร้ายแรง เหตุการณ์ระบาดเป็นกลุ่มก้อน (Cluster of illness) ต้องแจ้งและ ออกสอบสวนควบคุม ภายใน 24 ชั่วโมง
36
6.6 การสร้างเครือข่ายในเขตรับผิดชอบ พื้นที่ใกล้เคียงและพื้นที่อื่น
ทะเบียน เบอร์โทร ผู้นำ รร รพ.สต. อบต. อสม สสอ รพ ที่ว่าการ ปศอ
37
KPI8 : การสอบสวนโรคและภัยสุขภาพ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน KPI8 : การสอบสวนโรคและภัยสุขภาพ การผ่านเกณฑ์ พื้นฐาน = 2B ดี = 2B+2S รายการ 1) มีการกำหนดเกณฑ์ของทีมในการออกสอบสวนโรค ควบคุมการระบาดหรือตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข 2) มีการรวบรวมข้อมูลทางระบาดวิทยาของผู้ป่วยได้ถูกต้องครบถ้วน (บุคคล เวลา สถานที่) 3) มีการกำหนดนิยามผู้ป่วย และผู้สัมผัสได้อย่างถูกต้อง [B] [S] 4) มีการเลือกใช้วิธีการศึกษาทางระบาดวิทยาและสถิติที่เหมาะสมกับเหตุการณ์ ให้เลือกผลงานมาแสดง เป็นผลงานต่างชิ้นได้ และไม่เกิน 3 ปี
38
นิยาม บุคคล อยู่ในม. อาการ ไข้ ร่วมกับ อาการ สถานที่ ม...
บุคคล อยู่ในม. อาการ ไข้ ร่วมกับ อาการ สถานที่ ม... ระยะเวลาเริ่มป่วย ย้อนหลัง 1_2 เท่า ดูต่อไปอีก 2 เท่า
39
ข้อมูล/หลักฐาน สำเนารายงานสอบสวนโรค ทะเบียนรับแจ้งข่าว รายงาน 506 ฐานข้อมูล SRRT ตำบล(Event base)
40
มาตรฐานการปฏิบัติงาน KPI9 : การควบคุมโรค/ภัยเหตุการณ์ผิดปกติขั้นต้น
การผ่านเกณฑ์ พื้นฐาน = 3B ดี = 3B+2S รายการ 1) ป้องกันตนเองจากการติดเชื้อ/และหรืออันตรายขณะสอบสวนโรค 2) ควบคุมการแพร่กระจายเชื้อจากผู้ป่วยและพาหะในชุมชนได้ 3) สื่อสารให้ชุมชนเข้าใจสถานการณ์ และร่วมมือควบคุมการระบาดได้ 4) จัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น หรือสำรวจความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมขณะควบคุมโรคได้ [B] [S] 5) บอกได้ถึงสิ่งที่เกินขีดความสามารถและขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานเฉพาะด้านหรือทีมที่เชี่ยวชาญกว่า ผลงานต่างชิ้นได้ และไม่เกิน 3 ปี
41
ข้อมูล/หลักฐาน สำเนารายงานสอบสวนโรคที่มีรายละเอียดของการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค วัสดุอุปกรณ์ เอกสาร แผ่นพับ สคริป fact sheet คู่มือป้องกันควบคุมโรคที่ใช้ประกอบการปฏิบัติงาน ภาพถ่ายขณะปฏิบัติงาน เช่น สวมชุด PPE, ปฏิบัติการควบคุมโรค ,การสื่อสารกับชุมชน
42
KPI12 : ผลงานการแจ้งเตือนและรายงานเหตุการณ์ ทันเวลา
มาตรฐานผลงาน KPI12 : ผลงานการแจ้งเตือนและรายงานเหตุการณ์ ทันเวลา การผ่านเกณฑ์ พื้นฐาน = 1B ดี = 1S , 2S รายการ มีการตรวจสอบและแจ้งเตือนเหตุการณ์ผิดปกติได้ภายใน 24 ชม. 1) มีการตรวจสอบและแจ้งเตือนฯ ร้อยละ 2) มีการตรวจสอบและแจ้งเตือนฯ ร้อยละ 3) มีการตรวจสอบและแจ้งเตือนฯ ร้อยละ 80 ขึ้นไป [B] [S1] [S2] ประเมินผลงานรอบ 12 เดือน นับจากเดือนก่อนเดือนที่ทำการรับรองมาตรฐานย้อนหลังขึ้นไป**
43
ข้อมูล/หลักฐาน ทะเบียนรับแจ้งข่าว
หนังสือ เอกสาร หลักฐานที่แสดงว่ามีการแจ้งเตือนหรือรายงาน
44
KPI13 : ผลงานด้านความครบถ้วนของ
มาตรฐานผลงาน KPI13 : ผลงานด้านความครบถ้วนของ การสอบสวนโรค/ภัยเหตุการณ์ผิดปกติ การผ่านเกณฑ์ พื้นฐาน = 1B ดี = 1S , 2S รายการ มีการสอบสวนครบถ้วน 1) มีผลงานสอบสวนครบถ้วน ร้อยละ 2) มีผลงานสอบสวนครบถ้วน ร้อยละ 3) มีผลงานสอบสวนครบถ้วน ร้อยละ 80 ขึ้นไป **ประเมินผลงานรอบ 12 เดือน นับจากเดือนก่อนเดือนที่ทำการรับรองมาตรฐานย้อนหลังขึ้นไป** [B] [S1] [S2] หมายเหตุ ใช้ผลงานสอบสวนโรคทั้งหมดที่เข้าเกณฑ์สอบ
45
ข้อมูล/หลักฐาน สำเนารายงานสอบสวนโรค ทะเบียนรับแจ้งข่าว รายงาน 506 ฐานข้อมูล SRRT ตำบล(Event base) ต้องรู้ว่าจะต้องมีรายงานการสอบสวนโรคกี่ฉบับ และมีจริงกี่ฉบับ ทั้งสอบเฉพาะรายและระบาด
46
มาตรฐานผลงาน KPI14 : ผลงานด้านคุณภาพการสอบสวน และควบคุมโรค
การผ่านเกณฑ์ พื้นฐาน = 1B ดี = 1S , 2S รายการ มีการสอบสวนและควบคุมโรค/เหตุการณ์ผิดปกติที่มีคุณภาพ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 1) มีรายงานสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ 1 ฉบับ [B] 2) มีรายงานสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ 2 ฉบับ 3) มีรายงานสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ มากกว่า 2 ฉบับ [S1] [S2] **ประเมินผลงานรอบ 12 เดือน หมายเหตุ เฉพาะผลงานสอบสวนการระบาด
47
คุณภาพการสอบสวนและควบคุมโรค
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ผลงานที่ใช้ในการประเมิน ใช้เฉพาะผลงานการสอบสวนโรค/เหตุการณ์ผิดปกติ ทั้งที่ดำเนินการเองหรือร่วมกับทีมอื่น โดยต้องเป็นผู้เขียนรายงานเอง
48
การสอบสวนและควบคุมโรคที่มีคุณภาพ
หมายถึง บอกขนาด ความรุนแรงของปัญหา กลุ่มเสี่ยง พื้นที่เสี่ยงได้ ควบคุมโรคสงบภายในระยะเวลา 2 เท่าของระยะฟักตัว ที่ยาวที่สุด โดยนับจากวันเริ่มป่วยของ index case และสามารถระบุกลุ่มเสี่ยง พื้นที่เสี่ยงได้
49
KPI15 : ผลงานด้านความรวดเร็วใน
มาตรฐานผลงาน KPI15 : ผลงานด้านความรวดเร็วใน การสอบสวนโรค/ภัยเหตุการณ์ผิดปกติ การผ่านเกณฑ์ พื้นฐาน = 1B ดี = 1S , 2S รายการ มีการสอบสวนโรคภายใน 24 ชั่วโมง 1) มีผลงานสอบสวนทันเวลา ร้อยละ [B] 2) มีผลงานสอบสวนทันเวลา ร้อยละ 3) มีผลงานสอบสวนโรคทันเวลา ร้อยละ 80 ขึ้นไป [S1] [S2] **ประเมินผลงานรอบ 12 เดือน
50
ความรวดเร็วในการสอบสวนโรค (Response time)
ตัวชี้วัดเชิงเวลา การคำนวณ (ร้อยละ) จำนวนรายงานสอบสวนโรคที่มีการสอบสวนทันเวลาที่กำหนด x 100 จำนวนรายงานสอบสวนโรคทั้งหมด Response time เป็นระยะเวลาตั้งแต่ทราบว่ามีผู้ป่วยหรือการระบาดจนถึงเวลาที่ออกปฏิบัติงาน ภายใน 24 ชม.นับจากวันรับแจ้งข่าว ผลงานที่ใช้ในการประเมิน เป็นผลงานการสอบสวนโรคทั้งหมด ทั้งการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายและสอบสวนการระบาด
51
ข้อมูล/หลักฐาน สำเนารายงานสอบสวนโรค ทะเบียนรับแจ้งข่าว รายงาน 506 ฐานข้อมูล SRRT ตำบล(Event base)
52
KPI16 : ผลงานด้านคุณภาพการเขียน
มาตรฐานผลงาน KPI16 : ผลงานด้านคุณภาพการเขียน รายงานสอบสวนโรค การผ่านเกณฑ์ พื้นฐาน = 1B ดี = 1S , 2S รายการ มีการเขียนรายงานสอบสวนการระบาดที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 1) มีการเขียนรายงานสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ 1 ฉบับ [B] 2) มีการเขียนรายงานสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ 2 ฉบับ 3) มีการเขียนรายงานสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ มากกว่า 2 ฉบับ [S1] [S2] **ประเมินผลงานรอบ 12 เดือน หมายเหตุ สำเนารายงานสอบสวนฉบับสรุปผลการสอบสวน (Final report)
53
ใช้ผลงานการสอบสวนเฉพาะรายหรือการระบาด ทั้งที่ออก
ดำเนินการเอง หรือร่วมดำเนินการกับทีมอื่น รายงานเบื้องต้น (preliminary report) ภายใน 48 ชม.นับจากเริ่มต้น สอบสวน Final report 9 หัวข้อที่สำคัญ ได้แก่ ชื่อเรื่อง ผู้สอบสวน ที่มา วัตถุประสงค์ วิธีการ ผลการสอบสวน มาตรการป้องกันควบคุมโรค สรุป ข้อเสนอแนะ
54
การแบ่งหัวข้อทีมประเมิน
คนที่ ๑ ข้อ ๑-๒-๔- ๑๕ คนที่ ๒ ข้อ ๖-๘-๙-๑๒ คนที่ ๓ ข้อ ๑๓-๑๔-๑๖
55
การสรุปผลการประเมิน ใบสรุป แบบให้คะแนน รายงานสอบสวนคุณภาพ
หากมีการปรับแก้ไข ให้ดำเนินการภายใน ๒ สัปดาห์
56
ขอบคุณค่ะ...
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.