งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Dr. Chanthana Wech-o-sotsakda

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Dr. Chanthana Wech-o-sotsakda"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Dr. Chanthana Wech-o-sotsakda
Metadata Dr. Chanthana Wech-o-sotsakda

2 Metadata: ความหมาย Metadata คือ สารสนเทศที่มีโครงสร้าง (structured information) เพื่อพรรณนาวัตถุสารสนเทศ ซึ่งอาจเป็นภาพ หนังสือ บทความวารสาร เอกสาร วีดิทัศน์ บทในหนังสือ เป็นต้น ผู้ใช้ทั่วไปอาจไม่สนใจหรือรู้จัก Metadata แต่สำหรับผู้ทำหน้าที่จัดการสารสนเทศในด้านต่าง ๆ Metadata เป็นเครื่องมือให้สามารถจัดการสารสนเทศได้ เช่น จัดการด้านที่จัดเก็บสารสนเทศ (ไฟล์) ด้านเนื้อหา (จัดหมวดหมู่, ทำรายการ) และด้านการใช้ (สิทธิการใช้, ลักษณะการใช้)

3 ประเภทของ Metadata (1) จำแนกได้หลากหลายประเภท และอาจคาบเกี่ยวกัน ขึ้นกับการจัดการและการตัดสินใจของแต่ละสถาบัน ในที่นี้จำแนกเป็น 5 ประเภท Descriptive Metadata Structural Metadata Administrative Metadata Technical Metadata Preservation Metadata Use Metadata

4 ประเภทของ Metadata (2) Descriptive Metadata – ใช้เพื่อการค้นหาและการระบุวัตถุสารสนเทศ เป็นกลุ่มที่บรรณารักษ์คุ้นเคยที่สุด ตัวอย่าง คือ MARC, Dublin Core records. Structural Metadata – ใช้เพื่อแสดงแก่ผู้ใช้ และนำทางให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงวัตถุสารสนเทศนั้นได้ (คลิกไปตามลำดับ) ดังนั้นจึงประกอบด้วยข้อมูลการจัดหมวดหมู่ของวัตถุนั้น (ไม่ใช่จัดหมวดหมู่ด้านเนื้อหา) เช่น ตู้ >> ลิ้นชัก >> โฟลเดอร์ >> แฟ้มแต่ละแฟ้ม >> เอกสารแต่ละชิ้น

5 ประเภทของ Metadata (3) Administrative Metadata – ใช้เพื่อแสดงข้อมูลการจัดการวัตถุนั้น ๆ เช่น วันที่ที่ผลิต, format ของไฟล์ (JPEG, etc.), ผู้ผลิตหรือหน่วยงานเจ้าของวัตถุนั้น Technical Metadata – ใช้เพื่อแสดงข้อมูลเชิงเทคนิค เช่น ฮาร์ดแวร์-ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลงข้อมูล, format ของไฟล์ (JPEG, etc.), อัตราส่วนของการบีบอัดข้อมูล (compression ration) ฯลฯ

6 ประเภทของ Metadata (4) Preservation Metadata ใช้แสดงข้อมูลด้านการสงวนรักษา เช่น สภาพทางกายภาพของต้นฉบับ, การสงวนรักษาไฟล์ เป็นต้น Use Metadata ใช้แสดงข้อมูลเกี่ยวกับประเภทของผู้ใช้และลักษณะของการใช้ เช่น version ของวัตถุกับประเภทของผู้ใช้ เป็นต้น

7 Metadata มีหน้าที่อะไร?
ช่วยให้สามารถค้นหาได้ (ทั้งในระดับ collection เดียวกันหรือหลาย collections พร้อมกัน >> federated searching) จัดหมวดหมู่วัตถุ (ทั้งในเชิงกายภาพและ ตรรกะหรือเนื้อหา) ช่วยให้บูรณาการข้อมูลทั้งที่เป็นเนื้อหา (ฉบับเต็ม) และของ metadata ได้ ช่วยในการจัดการวัตถุสารสนเทศในระยะยาว

8 หากไม่มี Metadata ที่เป็นมาตรฐานจะเกิดอะไรขึ้น?
การค้นข้าม collections หรือ digital libraries ทำได้ยาก เช่น ต้องค้นทีละ collection หรือทีละ library การโอนย้ายหรือถ่ายโอนข้อมูลทำได้ยาก เช่น การเปลี่ยนซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้อง, การเปลี่ยน/ขยาย servers, การ update ซอฟต์แวร์, การขยาย collections ที่มี formats และมาตรฐานต่างกัน Metadata ที่ผูกติดกับซอฟต์แวร์ใดซอฟต์แวร์หนึ่งเป็นการเฉพาะ ค่าใช้จ่ายในการเปลี่ยนมาตรฐานและความเสื่อมสภาพที่ต้องคำนึงถึง

9 มาตรฐาน Metadata ที่สำคัญและจำเป็น
Metadata ที่เป็นมาตรฐานสำหรับการพรรณนาเนื้อหา ในลักษณะเดียวกับ AACR2 framework หรือ schema ที่เป็นมาตรฐานเพื่อการเก็บและแลกเปลี่ยน metadata ในลักษณะเดียวกับ MARC record XML (eXtensible Markup Language) เป็นมาตรฐานที่ใช้สำหรับ metadata บนอินเทอร์เน็ต

10 Open Archival Information Package
(ISO 14721:2002)

11 METS (1) Metadata Encoding and Transmission Standard
XML-based language ที่เอื้อให้สามารถบรรจุ metadata ประเภทต่าง ๆ คือ descriptive, administrative และ structural (ซึ่งจำเป็นในการจัดการ นำเสนอ ค้น และสงวนรักษา information objects) ยืดหยุ่น และเอื้อต่อวัตถุทั้งที่เป็นข้อความ ภาพนิ่ง เสียงและวีดิทัศน์ ไม่ซับซ้อน และตรงไปตรงมา (มักคิดว่าซับซ้อนเพราะ declarative statements, documentation และเครื่องหมายรุงรัง)

12 METS (2) สนับสนุนและอุปถัมภ์โดย Digital Library Federation ( บำรุงรักษาโดย Library of Congress ( open standard non-proprietary developed by the library community extensible modular

13 METS metadata: โครงสร้าง
Header optional optional optional optional Descriptive metadata Administrative metadata Behavioral metadata optional required File Inventory Structure map

14 METS features Header: describes METS document, creator, editor etc.
Descriptive metadata File section: lists all files containing content which comprise electronic versions of the digital object Structural Map: outlines the hierarchical structure of the digital object and links the elements of the structure to content files Structural links: for recording hyperlinks in hierarchy – useful for archiving websites Behavior: allows links between programs and content in the METS object

15 Linking in METS Documents (XML ID/IDREF links)
DescMD mods relatedItem AdminMD techMD sourceMD digiprovMD rightsMD fileGrp file StructMap div fptr

16 MODS An XML schema สำหรับการพรรณนาวัตถุ (descriptive metadata)
Metadata Object Description Schema An XML schema สำหรับการพรรณนาวัตถุ (descriptive metadata) ออกแบบและบำรุงรักษาโดย MARC standards office at LC A richer element set than simple Dublin Core, but more constrained (and more interoperable) than qualified DC Based on MARCXML, but with natural language element names instead of numerical field names Extensible

17 ความแตกต่างระหว่าง MODS and Dublin Core
Names Publication information (originInfo) Related item Subject MODS เหมาะสำหรับข้อมูลที่มีในห้องสมุด Semantics Conversions ความสัมพันธ์ระหว่าง elements ต่าง ๆ เอื้อต่อการจัดการ record เพราะสามารถเพิ่ม administrative metadata ได้

18 METS & MODS dmdSec Catalog record MODS (MARC >> MODS) fileSec
URL: page1.jpg URL: page2.jpg structMap div DMDID=1 div FILEID=1 div FILEID=2 Scanned images (JPEG) Structural metadata

19

20 Greenstone: a future with METS
GS3: METS as internal storage format MG/MGPP for indexing and text retrieval MySQL for metadata XSLT for presentation to browser Can use GS2 collection as is GS2: (2.6) METS as optional internal format METSPlug (in collect.cfg) import.pl -saveas METS mycol buildcol.pl mycol ภาษาไทย Greenstone METS “profile” (not yet formalized)


ดาวน์โหลด ppt Dr. Chanthana Wech-o-sotsakda

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google