ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
องค์ประกอบ ความมั่นคงแห่งชาติ
องค์ประกอบ ความมั่นคงแห่งชาติ พันเอก ทนงศักดิ์ รองทิม รองผู้อำนวยการ ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
3
ไทยเสียกรุงศรีอยุธยา เพราะอะไร ?
6
ไทยเสียดินแดนไปกี่ครั้ง ?
7
องค์ประกอบความมั่นคงแห่งชาติ…
ความหมาย สถานการณ์ความมั่นคงของโลกที่กระทบต่อไทยในภาพรวม นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (๕๕-๕๙) องค์กรด้านความมั่นคงแห่งชาติ
8
ความมั่นคงหมายถึง
10
Freedom from danger = ‘Safety’
Freedom from fear / anxiety / care = ‘Confidence’ Freedom from uncertainty / doubt = ‘Assurance’ -
11
Basis for assurance = ‘Guarantee’
‘Dependability’ ‘Stability’ ‘Firmness’
12
ความมั่นคง (Security) คืออะไร
‘SECURITY’: the quality or state of being secure as: Freedom from danger : SAFETY Freedom from fear, anxiety, or care/ freedom from uncertainty or doubt/ sureness of technique: CONFIDENCE, ASSURANCE Basis for confidence: GUARANTEE FIRMNESS: DEPENDABILITY, STABILITY” Webster’s Third New International Dictionary
13
ความมั่นคงแห่งชาติ (National Security)
นามธรรม: ประเทศมีความปลอดภัย (Security) จาก ภัยคุกคาม (Threats) ทั้งมวล ความเป็นธรรมของสังคม ความจงรักภักดีต่อชาติ ความรู้สึกที่ดีของประชากรที่มีต่อรัฐบาล นิสัยประจำชาติ ความสัมพันธ์ในครอบครัว
14
ความมั่นคงแห่งชาติ (National Security)
รูปธรรม : ชาติ-รัฐ ประเทศ และ สังคมอันเป็นลักษณะรวม ชาติ (Nation) – รัฐ (State) : องค์ประกอบ: ดินแดน - ประชากร รัฐบาล - ความมีเอกราช การรับรองโดยสังคมนานาชาติ
15
ความมั่นคงแห่งชาติ (National Security)
“การที่ชาติหรือรัฐมีเอกราช สวัสดิภาพของสังคมและประชาชนอยู่ในความปลอดภัย อยู่ดีมีสุขมีความสามัคคีเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน มีระเบียบวินัย และมีวัฒนธรรม” ๕ ปัจจัยหลัก : การเมือง - เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา - การทหาร วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม
16
ชาติ พระมหากษัตริย์ ศาสนา ความมั่นคง แห่งชาติ
17
ปัจจัยความมั่นคงแห่งชาติ 3 ขั้น
Political Economics Military S&T Socio-Psychology Geo-Strategic Environment
18
องค์กรที่เกี่ยวข้องด้านความมั่นคงแห่งชาติ
MOD RTN ALLIES NSC RTA OB Armed Forces Development Concept In order to be ready to handling the current strategic environment and various types of threat and challenges in the future and to meet the national defence objectives, the armed forces must commit to 3 military strategic concepts; namely Security Cooperation, United Defence and Active Defence. Moreover the armed forces must fully support and provide its resources to solve any kind of urgent national security issues in all opportunity in order to cover all responsibility as a key national means and importance national power. Future Direction In order to achieve those three military strategic thinking the armed forces will focus and prioritize on the preparation of forces and develop the standby arrangement forces for peaces support operation and Humanitarian Assistances Operations, including to solve internal security in the southern of Thailand as the ‘National Agenda’. Moreover, establishment the appropriate relationship among the political-bureaucratic-military in the platform of the ‘Civilian Control’ is essential. This development must also be align with the situation change and political institutional reform. The defence reform would be focused more on modernization, flexibility as the multi-purposed armed forces, sustainability, joint operation and integrated to tackling all threats domestically and internationally. In addition, the strategic partnership management with allies and neighbourings and all national capability and resources must be brought together in most effective manners for the assigned missions and tasks Geo-Metro-Information RTAF Governmental Agencies
19
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านความมั่นคงแห่งชาติ
นรม. รอง นรม. รมว.กห. สภา มช. รมว.กต. รมว.กค. คกก.มช. รมว.คค. ประชาคม ข่าวกรอง สมช. รมว.มท. Key NCW organizations are depicted in this Figure. In nearly all instances the key organizations' remits extends well beyond NCW implementation and ensures that a whole of capability perspective will be applied to the fundamental inputs to capability required to achieve the vision for the RTARF’s NCW capability. ACSS is responsible for overall implementation of NCW across Defence. DCDC authorises high-level implementation and coordination of NCW activities PPDG integrates and coordinates NCW with other capability development matters. MCSC provides cross project NCW integration and chair of the PMQA group DMI provide research and policy support to PPDG and ACSS in NCW matters. Coordinate development of NCW Roadmap DMC is the communication architect and is responsible for ensuring cross project integration. It fulfills this role through testing NCW compliance to communication Architectures and mandated standards. CIOG manages the Network Dimension of RTARF NCW capability NIA develops the intelligence component of Defence NCW capability DMSC works in partnership with DRDO OJCE is responsible forth raise, train and sustain functions of the NCW enable force. DRMO provides the Science and Technology support to Defence NCW capability SRDI has overall responsibility for managing the Human Dimension of Defence NCW capability ผบ.ทสส. ลมช.
20
นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (National Security Policy)
“แนวปฏิบัติอย่างกว้างๆ ในระดับชาติ ซึ่งรัฐบาลกำหนดขึ้น ในกรอบของนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ โดยการเสนอแนะของ สภา มช. เพื่อใช้ในการบริหารให้บรรลุวัตถุประสงค์แห่งชาติ” ๒ ประเภทหลัก: นโยบายเปิด: การสร้างความสัมพันธ์กับต่างประเทศ การต่อต้านการก่อการร้ายสากล ฯลฯ นโยบายปิด: ไม่สามารถแถลงต่อมวลชนได้ เนื่องจากอาจมีผลกระทบกระเทือนต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ฯลฯ
21
Herbert G.Hick&C.Ray Gullett
นโยบาย(Policy) นโยบาย หมายถึง ข้อความทั่วๆไป ที่ใช้เป็นแนวทางในการตัดสินใจ โดยกำหนดขอบเขต และเป็นแนวทางสำหรับตัดสินใจทำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ Herbert G.Hick&C.Ray Gullett
22
สถานภาพของความมั่นคงแห่งชาติของไทยปัจจุบัน สถานการณ์และการเปลี่ยนแปลงบริบทความมั่นคง
๑. ความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคงในระดับโลก ๒. ความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคงในระดับภูมิภาค ๓. ความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคงภายในประเทศ ๔. ความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคงข้ามพรมแดน
23
สภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคงโลก ที่กระทบไทยในภาพรวม
Security Situation and the Roles of Major Power Nations in the Region
24
สถานภาพของความมั่นคงแห่งชาติของไทยปัจจุบัน
๑. ความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคงในระดับโลก ๒ เรื่อง - การเมืองโลกแบบหลายขั้วอำนาจ ไทยต้องรักษาดุลยภาพความสัมพันธ์กับประเทศมหาอำนาจ - ปัจจัยความมั่นคงด้านพลังงานสิ่งแวดล้อม และภัยธรรมชาติถือเป็นปัญหาสำคัญของโลก
25
สภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคงโลก ที่กระทบไทยในภาพรวม
Security Situation in ASEAN Regional
26
สถานภาพของความมั่นคงแห่งชาติของไทยปัจจุบัน
๒. ความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคงในระดับภูมิภาค ๔ เรื่อง - การขยายอิทธิพลและบทบาทของประเทศมหาอำนาจต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - การขยายตัวของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในภูมิภาค / การจัดตั้งประชาคมอาเซียน - ความขัดแย้งทางดินแดนและการใช้กำลังทางการทหาร - ความมั่นคงและผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล
27
สถานภาพของความมั่นคงแห่งชาติของไทยปัจจุบัน
๓. ความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคงภายในประเทศ ๖ เรื่อง - ความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์ - ความขัดแย้งของคนในประเทศ - ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ - การขยายขอบเขตการก่อเหตุรุนแรงจากแรงจูงใจอื่น (นอกเหนือจากอุดมการณ์ต่างจากรัฐ) - ความไม่เชื่อมั่นในการบริหารประเทศตามหลักนิติธรรม - ปัญหายาเสพติด - ความเสี่ยงที่เกิดจากวิกฤตความมั่นคงและภัยพิบัติทางธรรมชาติ
28
สถานภาพของความมั่นคงแห่งชาติของไทยปัจจุบัน
๔. ความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคงข้ามพรมแดน ๓ เรื่อง - การเคลื่อนตัวของภัยคุกคามข้ามชาติ - การย้ายถิ่นของประชากร - บริบทการเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่ภัยคุกคามความมั่นคงในลักษณะใหม่
29
ความมั่นคงเชื่อมโยงกับบริบทโลกทั้งเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ขาดความสมดุล การแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ การเข้ามาของวัฒนธรรมโลกผ่านโลกไซเบอร์ กระทบวัฒนธรรมความเชื่อโดยเฉพาะปัจเจกชนนิยมเกิดความเสี่ยงต่อการขาดจิตสำนึกร่วมด้านความมั่นคง การโจมตีทางไซเบอร์เพื่อเจาะระบบข้อมูลข่าวสาร การใช้สื่อประเภทเครือข่ายสังคมเพื่อบ่อนทำลายระหว่างกันเกิดความขัดแย้ง
30
นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๘ - ๒๕๖๒
31
กรอบแนวคิดและทิศทางของนโยบาย ความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๒
คำนึงถึง ค่านิยมหลักของชาติ ซึ่งเป็นสิ่งที่คนในชาติจะต้องยึดถือและพึงรักษาไว้ร่วมกัน ผลประโยชน์แห่งชาติ ซึ่งเป็นความมุ่งประสงค์ของชาติ ที่จะทำให้ค่านิยมหลักของชาติดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคง ต่อเนื่อง
32
ค่านิยมหลักของชาติ มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ อันเป็นสถาบันหลักของชาติ เชื่อมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีเหตุมีผล เคารพสิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ และหลักนิติธรรม เห็นคุณค่าในคุณธรรม จริยธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของสังคมไทย เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางความคิด ความเชื่อ อัตลักษณ์ และวัฒนธรรม บนพื้นฐานของการยึดมั่นในความเป็นพหุสังคม อยู่ร่วมกับประชาคมโลกอย่างสันติ ด้วยมิตรภาพอันดี
33
ผลประโยชน์แห่งชาติในห้วง พ.ศ.๒๕๕๘-๒๕๖๒
การมีเอกราช อธิปไตย และบูรณาภาพแห่งเขตอำนาจรัฐ การดำรงอยู่อย่างมั่นคง ยั่งยืนของสถาบันหลักของชาติ การดำรงอยู่อย่างมั่นคงของชาติและประชาชนจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ การอยู่ร่วมกันในชาติอย่างสันติสุข เป็นปึกแผ่น มั่นคงทางสังคม ท่ามกลางพหุสังคมและการมีเกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ความเจริญเติบโตของชาติ ความเป็นธรรม และความอยู่ดีมีสุขของประชาชน ความยั่งยืนของฐานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ความมั่นคงทางพลังงาน อาหาร
34
ผลประโยชน์แห่งชาติในห้วง พ.ศ.๒๕๕๘-๒๕๖๒
ความยั่งยืนของฐานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ความมั่นคงทางพลังงาน อาหาร ความสามารถในการรักษาผลประโยชน์ของชาติภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ประสานสอดคล้องกันด้านความมั่นคงในประชาคมอาเซียน และประชาคมโลกอย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรี
35
วิสัยทัศน์ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๒
วิสัยทัศน์ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๒ “ชาติมีเสถียรภาพและเป็นปึกแผ่น ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต ประเทศมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ปลอดภัยจากภัยคุกคามข้ามพรมแดน พร้อมเผชิญวิกฤติการณ์ มีบทบาทเชิงรุกในประชาคมอาเซียนและดำเนินความสัมพันธ์กับนานาประเทศอย่างมีดุลยภาพ”
36
วัตถุประสงค์ของนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๒
วัตถุประสงค์ของนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๒ ส่งเสริมและรักษาไว้ซึ่งระบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เสริมสร้างจิตสำนึกให้จงรักภักดี เทิดทูน และพิทักษ์รักษาสถาบันหลักของชาติ ส่งเสริม/สนับสนุนการสร้างความปรองดอง ความเป็นธรรม ความสมานฉันท์ในชาติ ลดการเผชิญหน้า/การใช้ความรุนแรงทุกรูปแบบ จังหวัดชายแดนภาคใต้มีความปลอดภัย ปราศจากเงื่อนไขการใช้ความรุนแรง
37
วัตถุประสงค์ของนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๒
วัตถุประสงค์ของนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๒ พัฒนาศักยภาพภาครัฐ ส่งเสริมบทบาท/ความเข้มแข็งของทุกภาคส่วน ในการรับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบ จัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม พลังงาน และอาหาร ให้มั่นคง ยั่งยืน/สมดุลกับการขยายตัวของประเทศ รวมถึงลดความเสี่ยงจากผลกระทบของโลกาภิวัตน์ พัฒนาศักยภาพการเตรียมความพร้อมในการเผชิญภาวะสงครามและวิกฤติการณ์ความมั่นคง อย่างมีเอกภาพและประสิทธิภาพ
38
วัตถุประสงค์ของนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙
วัตถุประสงค์ของนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙ เสริมสร้างศักยภาพกองทัพในการป้องกันประเทศ สนับสนุนภารกิจที่ไม่ใช่การสงคราม และการผนึกกาลังกับ ทุกภาคส่วนในการเผชิญกับภัยคุกคามทุกรูปแบบ ส่งเสริมสภาวะแวดล้อมที่สร้างสรรค์และสันติในการอยู่ร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน กลุ่มประเทศอาเซียน ประชาคมโลก บนพื้นฐานของการรักษาผลประโยชน์ และการดำรงเกียรติภูมิของชาติ
39
ประเด็นนโยบายรองรับวัตถุประสงค์ 2 ส่วน
- นโยบายสำคัญเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงที่แก่นหลักของประเทศ - นโยบายความมั่นคงแห่งชาติทั่วไป
40
ประเด็นนโยบายรองรับวัตถุประสงค์ 2 ส่วน
- นโยบายสำคัญเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงที่แก่นหลักของประเทศ ๓ ประเด็น การเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ และการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข สร้างความเป็นธรรม ความปรองดองและสมานฉันท์ในชาติ ป้องกันและแก้ไขการก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้
41
ประเด็นนโยบายรองรับวัตถุประสงค์ 2 ส่วน
นโยบายความมั่นคงแห่งชาติทั่วไป ๑๒ ประเด็น จัดระบบการบริหารจัดการชายแดนเพื่อป้องกันและแก้ไข ปัญหาข้ามพรมแดน สร้างเสริมศักยภาพการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคาม ข้ามชาติ ปกป้อง รักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล จัดระบบ ป้องกัน และแก้ไขปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมือง เสริมสร้างความเข้มแข็งและภูมิคุ้มกันความมั่นคงภายใน เสริมสร้างความมั่นคงทางเทคโนโลยีสารสนเทศและไซเบอร์
42
ประเด็นนโยบายรองรับวัตถุประสงค์ 2 ส่วน
นโยบายความมั่นคงแห่งชาติทั่วไป ๑๒ ประเด็น รักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อม เสริมสร้างความมั่นคงทางพลังงานและอาหาร พัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติเพื่อเสริมสร้างความ มั่นคงของชาติ เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพการป้องกันประเทศ พัฒนาระบบงานข่าวกรองให้มีประสิทธิภาพ เสริมสร้างดุลยภาพในการดาเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
43
แนวทางการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์
พัฒนาระบบ กลไก กฎหมาย กฎ ระเบียบ และการบริหารจัดการนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ สร้างความเชื่อมโยงระหว่างนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ นโยบายรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ยุทธศาสตร์และแผนที่เกี่ยวข้องอื่นๆ พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลในระดับนโยบายอย่างต่อเนื่อง เสริมสร้างบทบาทภาคีความมั่นคง รวมถึงภาคีนอกภาครัฐสนับสนุนการดาเนินงานตามนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ
44
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
รัฐบาลให้ความสำคัญและสนับสนุนการดำเนินนโยบายความมั่นคงแห่งชาติอย่างต่อเนื่อง กระทรวง กรม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเตรียมความพร้อมในการดำเนินนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ภาคประชาสังคม ยอมรับและให้การสนับสนุน
45
กระบวนการจัดทำนโยบายความมั่นคงแห่งชาติและการนำไปสู่การปฏิบัติ
ข้อมูลจากประชาคม ข่าวกรอง การระดมรับฟังความคิดเห็นจากทุกภาคส่วน การศึกษาทางวิชาการ และการประเมินผลที่ผ่านมา การยกร่างนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พัฒนา / ทบทวน คณะทำงาน/คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการนโยบายของสภาความมั่นคงแห่งชาติ (ลมช.) สภาความมั่นคงแห่งชาติ (นรม.) สมช. กอ.รมน. คณะรัฐมนตรี มอบหมายส่วนราชการนำไปปฏิบัติ ผลการปฏิบัติ
46
ตัวแบบปัจจัยความสำเร็จ ของนโยบาย
แผน / โครงการ ชัดเจน / เป็นไปได้ สมรรถนะองค์การ โครงสร้าง คน งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ สถานที่/เวลา การนำนโยบายไปปฏิบัติ หัวหน้า / ผู้บริหาร มีความรู้ / ความสามารถ ในการบริหาร สิ่งแวดล้อม ภายใน / ภายนอกองค์การ
47
ตัวแบบปัจจัยความล้มเหลว ของนโยบาย
เทคนิค / ทฤษฏีผิดพลาด Policy เทคนิคผิดพลาด Process Output - Communication - Policy - Resource - Budget - ขาดการวิเคราะห์ สาเหตุ
48
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
บทบาทของทหาร ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๗๗ รัฐต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบัน พระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่ง เขตอำนาจรัฐ และต้องจัดให้มีกำลังทหาร อาวุธยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย จำเป็น และเพียงพอ เพื่อพิทักษ์ รักษาเอกราช อธิปไตย ความมั่นคงของรัฐ สถาบัน พระมหากษัตริย์ ผลประโยชน์แห่งชาติ และการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และ เพื่อการพัฒนาประเทศ
49
สรุปบทบาทของทหารตามรัฐธรรมนูญฯ
1. ป้องปราม ป้องกัน และต่อสู้เอาชนะภัยคุกคามจากภายนอก ประเทศ 2. รักษาความมั่นคงภายในประเทศและการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 3. ป้องกันและปราบปรามการก่อความไม่สงบภายในประเทศ 4. ปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์ 5. สนับสนุนและร่วมในการพัฒนาประเทศ การช่วยเหลือประชาชน และการบรรเทาสาธารณภัย 6. คุ้มครองและรักษาผลประโยชน์ของชาติ 7. ร่วมมือกับมิตรประเทศตามนโยบายของรัฐบาลในการรักษา สันติภาพและการป้องกันร่วมกัน
50
แนวทางในการสร้างสรรค์ความมั่นคงแห่งชาติ
กองทัพไทย แนวทางในการสร้างสรรค์ความมั่นคงแห่งชาติ พัฒนากองทัพให้มีโครง สร้างกำลังกองทัพที่เหมาะสม สนับสนุนกองทัพให้มีระบบอาวุธและการแจ้งเตือนภัยทางทหาร พัฒนาศักยภาพของชาติในการป้องกันประเทศ ด้วยการผนึกกำลังจากทุกฝ่าย นำศักยภาพของกองทัพในยามปกติเข้าช่วยเสริมสร้างความสามัคคีของคนในชาติและพัฒนาประเทศ พัฒนาความร่วมมือทางทหารและความเข้าใจอันดีกับกอง ทัพของเพื่อนบ้านและมิตรประเทศ
51
ขีดความสามารถทางทหารของกองทัพไทย
บทบาทของทหาร องค์ ประกอบขีดความ สามารถ การเสริมสร้างขีดความ สามารถ
52
องค์ประกอบขีดความสามารถ
(CAPABILITY) โครงสร้างกำลัง (Force Structure) การเตรียมกำลัง (Preparedness) ความต่อเนื่องในการรบ (Sustainability) ความพร้อมรบ (Readiness) Readiness: Ability to be committed to operations within a specified time (availability + proficiency + serviceability) Sustainability: Provision of personnel, logistics and other support to maintain operations until the mission is complete
53
เขี้ยวเล็บของไทย RTA RTN RTAF 4 x Army Areas: 8 x Inf Div
2 x Armored Div 1 x SpWf Div 1 x Res Inf Div Troops Available: 190,000 3 x Regional Fleets: 1 x Marine Division 1 x CF- ADCG 2 x Naval Bases 1 x Naval Military Police Department Troops Available: 54,000 21 x Squadrons: 5 x Multi-purpose fighter Sq 1 x Fighter/Attack Sq 1 x Patrol/AEW & Ctrl Sq 1 x Air Refule and Trpt Sq 1 x VIP Transport Sq 2 x SOP Sq 4 x Trng 1 x UAV Sq 3 x Hele Sq Troops Available: 40,000 RTARF consists of RTARF HQ, RTA, RTN, RTAF and other subordinates and units according to the Defence Administrative Act 2008. The combat force of the RTARF comprises of ARMY: 8 ID (5 Infantry Divisions, 2 Light Infantry Division, and 1 Armoured Infantry Division), 2 Armoured Divisions, 1 Special Force Division, and 1 Reserve Infantry Division NAVY: the Royal Thai Fleet with three regional Fleets, 1 Marine Division, 1 commanding force on air defence and coast guard, 2 naval bases and 1 Naval Military Police Department AIR FORCE: 21 squadrons, consisting of 5 Multi-purpose Fighter squadrons, 1 Fighter/Attack squadrons, 1 Patrol/Airborne Early Warning and Control squadron, General Transport squadron, 1 Air Refuel and Transport squadron, 1 VIP Transport squadron, 2 Special Operation squadrons, 4 Training squadrons, 1 UAV squadron and 3 Helicopter squadrons
54
กองทัพบก
55
๗ กองพลทหารราบ ๒ กองพลทหารม้า ๑ กองพลรบพิเศษ ๒ กองพลทหารราบหนุน
กองทัพไทย กองทัพบก ๗ กองพลทหารราบ ๒ กองพลทหารม้า ๑ กองพลรบพิเศษ ๒ กองพลทหารราบหนุน
56
กองทัพเรือ
57
กองเรือยุทธการ : เรือรบหลัก ๑๐๐ ลำ - ๓ กองเรือภาค - ๙ กองเรือตามประเภท
กองทัพไทย กองทัพเรือ กองเรือยุทธการ : เรือรบหลัก ๑๐๐ ลำ - ๓ กองเรือภาค - ๙ กองเรือตามประเภท - ๒ กองบินทหารเรือ กองเรือป้องกันฝั่ง - ๓ กองเรือป้องกันฝั่งเขต
58
หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน - ๑ พล.นย. - ๑ กรม รปภ.นย. - ๒ กรม ตอ.
กองทัพไทย กองทัพเรือ หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน - ๑ พล.นย. - ๑ กรม รปภ.นย. หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง - ๒ กรม ตอ. - ๑ กรม รฝ.
59
กองทัพอากาศ
60
๕ ฝูงบินขับไล่อเนกประสงค์ ๒ ฝูงบินขับไล่/โจมตี
กองทัพไทย กองทัพอากาศ ๕ ฝูงบินขับไล่อเนกประสงค์ ๒ ฝูงบินขับไล่/โจมตี ๑ ฝูงบิน ลว./ควบคุมและแจ้งเตือน ๒ ฝูงบินลำเลียง ๑ ฝูงบินรับส่งบุคคลสำคัญ
61
๑ ฝูงบินปฏิบัติกิจเฉพาะพิเศษ ๑ ฝูงบินเฮลิคอปเตอร์ ๔ ฝูงบินฝึก
กองทัพไทย กองทัพอากาศ ๑ ฝูงบินปฏิบัติกิจเฉพาะพิเศษ ๑ ฝูงบินเฮลิคอปเตอร์ ๔ ฝูงบินฝึก ๑ ฝูงบินอากาศยานไร้นักบิน
62
หลักพื้นฐานการเสริมสร้างขีดความสามารถ
Fundamental Inputs to Capability (FIC) CAPABILITY งบประมาณ Funding ขีดความสามารถ การบริหารจัดการและบังคับบัญชา Command & Management การจัดOrganisation การส่งกำลัง Supplies ระบบ ยุทโธปกรณ์หลัก Major Systems สิ่งอำนวย ความสะดวก Facilities กำลังพลPersonnel การฝึก Collective Training การสนับสนุนSupport
63
การเสริมสร้างขีดความสามารถทางทหาร
กองทัพไทย การเสริมสร้างขีดความสามารถทางทหาร กระบวนการแจ้งเตือนการบุกรุกหรือคุกคาม (MCP, UAV) ระบบการควบคุมสั่งการที่เชื่อมต่อกันอย่างทั่วถึง (C4I) ระบบการข่าวกรองที่มีประสิทธิภาพ ขีดความสามารถเชิงรุกทางยุทธศาสตร์ มาตรการรักษาความปลอดภัยให้กับหน่วยทหารในสนามรบ กองกำลังพร้อมรบที่มีความคล่องแคล่วและทันสมัย ความในการปฏิบัติการรบได้อย่างต่อเนื่อง หลักประกันความปลอดภัยให้กับประชาชน
64
แนวความคิดทางยุทธศาสตร์ในการป้องกันประเทศ
กองทัพไทย แนวความคิดทางยุทธศาสตร์ในการป้องกันประเทศ การสร้างความ ร่วมมือด้าน ความมั่นคง Security Cooperation การผนึกกำลัง ป้องกัน ประเทศ United Defence การป้องกัน เชิงรุก Active Defence
65
แนวความคิดทางยุทธศาสตร์ในการป้องกันประเทศ
๑. การสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคง แนวความคิด : ทุกฝ่ายชนะโดยไม่ต้องรบ การดำเนินการ : สร้างความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน และมิตรประเทศ ยึดถือผลประโยชน์แห่งชาติ ดำเนินการตั้งแต่ยามปกติ
66
แนวความคิดทางยุทธศาสตร์ในการป้องกันประเทศ
๒. การผนึกกำลังป้องกันประเทศ แนวความคิด : - ประชาชนทุกคนมีหน้าที่ป้องกันประเทศ - รัฐสร้างระบบป้องกันประเทศให้พร้อม การดำเนินการ : บูรณาการทรัพยากรและพลังอำนาจของชาติทั้งสิ้น อย่างเป็นระบบ เพื่อใช้ในการป้องกันประเทศตั้งแต่ ในยามปกติ
67
แนวความคิดทางยุทธศาสตร์ในการป้องกันประเทศ
๓. การป้องกันเชิงรุก แนวความคิด : - กองทัพมิได้มีไว้รุกรานใครแต่ต้องมีขีด ความสามารถในการป้องปราม - สนับสนุนแนวคิดที่เอาชนะโดยไม่ต้องรบ การดำเนินการ : เป็นการดำเนินการภายในกระทรวงกลาโหม ทางด้าน การเตรียมกำลังและการใช้กำลัง
68
It is not important to be an economic tiger
It is not important to be an economic tiger. A self-sufficient economy will provide us with just that. It helps us to stand on our own and produce enough for our own consumption. If only one-quarter of the country would change course and turn from a market base to a self-sufficient economy. Thailand would be able to survive the economic storm… (His Majesty King Bhumibol Adulyadej, 5 December, 1997)
69
ndsi.rtarf.mi.th การเรียนการสอน
ตำราหลักสูตรวิชาการพัฒนาความมั่นคงแห่งชาติ และเอกสารการบรรยายของอาจารย์ นิสิตนักศึกษาสามารถโหลดได้ที่เว็บไซด์ ของ สปท. ndsi.rtarf.mi.th
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.