งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประยุกต์ใช้แนวทางของ IAIS เพื่อการกำกับดูแลบริษัทประกันภัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประยุกต์ใช้แนวทางของ IAIS เพื่อการกำกับดูแลบริษัทประกันภัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประยุกต์ใช้แนวทางของ IAIS เพื่อการกำกับดูแลบริษัทประกันภัย
ศาสตราจารย์ ดร.อัญญา ขันธวิทย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในฐานะที่ปรึกษากรมการประกันภัย

2 1. หลักการและเหตุผล เหตุผลของการกำกับดูแล
Maintenance of efficient, fair, safe and stable insurance market for the benefit and protection of policyholders IAIS (2003) on Insurance Core Principle and Methodology เหตุผลที่เลือกประยุกต์ใช้แนวทาง IAIS เป็นแนวทางสากล เป็นแนวทางหนึ่งที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมาก สามารถประยุกต์ใช้กับประเทศไทยได้

3 2. การประกอบธุรกิจประกันภัย
รับเบี้ยประกัน บริหารงาน บริหารสินทรัพย์ บริหารสภาพคล่อง ปฏิบัติตามภาระผูกพันของกรมธรรม์ แต่ การทำธุรกิจย่อมมีความเสี่ยงทางธุรกิจ

4 3. ความเสี่ยงทางธุรกิจของบริษัทประกันภัย
โอกาสที่บริษัทดำเนินธุรกิจ แต่ผลลัพธ์ไม่เป็นไปตามที่ “คาด” แล้วเกิด “ความเสียหาย” ขึ้น ความเสียหาย ก. เสียทรัพย์ ขาดทุน ข. เสียชื่อเสียง ขาดความน่าเชื่อถือ

5 4. ประเภทของความเสี่ยงตาม IAIS Classifications
กลุ่ม ก Technical Risks หรือ Liability Risks ก.1 Current Risks ที่สำคัญคือ Insurance Risks ก.2 Special Risks เป็นกลุ่ม Model Risks กลุ่ม ข Investment Risks หรือ Asset Risks ข.1 Market Risks ข.2 Credit Risks กลุ่ม ค Non-Technical Risks ค.1 Liquidity Risks ค.2 Operational Risks

6 5. แนวทางการกำกับของ IAIS
Risk-Based Capital Adequacy Supervision Market Discipline หรือ Corporate Governance รายละเอียดใน IAIS (2003) on Insurance Core Principle and Methodology

7 6. Risk-Based Capital Adequacy
หลักการและเหตุผล การทำธุรกิจมีความเสี่ยงที่อาจขาดทุน ผลขาดทุนจะไปตัดทุน เมื่อทุนหมด ผู้เอาประกันย่อมถูกกระทบ ดังนั้น บริษัทจึงต้องมีเงินทุนมากพอ ที่จะรองรับผลขาดทุนซึ่งอาจจะเกิดขึ้น

8 7. หลักการ หากธุรกิจที่ประกอบมีความเสี่ยงมาก บริษัทย่อมต้องมีทุนมาก

9 8. ประโยชน์ที่บริษัทประกันภัยจะได้รับ
การคุ้มครองผู้เอาประกัน การบริหารพฤติกรรมความเสี่ยงของบริษัท และการดำรง economic capital เพื่อการประกอบธุรกิจด้วยความมั่นคงยั่งยืน การดูแล (supervision) ไม่ใช่ การกำกับ (regulation) บริษัทจึงมีทางเลือกได้มากขึ้นในการทำธุรกิจภายใต้ พรบ.

10 9. ต้นทุนของบริษัท อาจ สูงขึ้น
ไม่จำเป็น เพราะ บริษัทอาจเลือกที่จะเสี่ยงน้อย บริษัทจึงลดต้นทุนลงได้ แต่หากบริษัทเลือกที่จะเสี่ยงมาก บริษัทต้องยอมรับต้นทุนที่สูงขึ้น ต้นทุนของความเสี่ยงมีอยู่แล้ว ถ้าบริษัทเลือกที่จะเสี่ยงมาก แต่ต้นทุนบริษัทยังเท่าเดิม แสดงว่าบริษัทโอนต้นทุนไปให้ผู้เอาประกันและประชาชนผู้เสียภาษี ซึ่งเป็นการไม่เป็นธรรม

11 10. เบี้ยประกันอาจสูงขึ้นและประชาชนจะเดือดร้อน
ไม่จำเป็น เบี้ยประกันถูกกำหนดภายใต้ ภาวะการแข่งขัน ต้นทุน และการกำกับดูแล ระดับความเสี่ยงที่สูงขึ้นเป็นทางเลือกของบริษัทและลูกค้า หากบริษัทและลูกค้าเลือกความเสี่ยงสูง ต้นทุนย่อมสูง ค่าเบี้ยประกันย่อมต้องสูงขึ้น จึงจะ เป็นธรรม กับทุกคน

12 11. แนวทางปัจจุบัน กับการประยุกต์ใช้แนวทาง IAIS
นิยามของเงินทุน สินทรัพย์ - หนี้สิน ทุนและเงินทุน ซึ่งตรงตามหน้าที่ซึ่งประสงค์ ความเสี่ยงที่พิจารณา Insurance Risks Insurance Risks + Investment Risks + Adjustments ค่าความเสี่ยง ไม่ชัดเจน คิดจากเงินสำรองประกันภัยหรือเบี้ยประกัน มีผลการศึกษาที่ทำภายใต้เงื่อนไขการทำธุรกิจในประเทศไทยรองรับ

13 12. ทุนและเงินกองทุน เงินกองทุนชั้นที่ 1
1. เป็นแหล่งเงินทุนถาวรและไม่มีข้อจำกัดในการใช้ 2. สามารถรองรับผลขาดทุนได้จริง 3. ไม่บังคับให้บริษัทจ่ายผลตอบแทน 4. มีบุริมสิทธ์เหนือทรัพย์ในลำดับสุดท้าย เงินกองทุนชั้นที่ 2 1. ขาดคุณสมบัติบางข้อ 2. ถูกจำกัดเพดาน

14 13. ระดับที่ “เพียงพอ” ของเงินกองทุน
หลักการ ทุน ต้องไม่น้อยกว่า ผลขาดทุนสูงสุดอันอาจจะเกิดขึ้น (ค่าความเสี่ยง) เงินกองทุนที่เพียงพอคิดเป็นจำนวนเท่าของผลขาดทุน เงินกองทุน อัตราส่วนที่พิจารณา = ผลขาดทุนสูงสุดอันอาจจะเกิดขึ้น

15 13. ระดับที่ “เพียงพอ” ของเงินกองทุน

16 13. ระดับที่ “เพียงพอ” ของเงินกองทุน

17 14. ผลขาดทุนสูงสุดอันอาจจะเกิดขึ้น (ค่าความเสี่ยง)
14. ผลขาดทุนสูงสุดอันอาจจะเกิดขึ้น (ค่าความเสี่ยง) คำนวณจาก ทฤษฎี การเงิน การประกันภัย คณิตศาสตร์และสถิติ (พยายาม) ใช้ ข้อมูลจริง ของประเทศไทย คำนวณ unexpected loss ณ ระดับ ความเชื่อมั่น 99% ขึ้นกับ ประเภทของความเสี่ยง ของการทำธุรกรรม Insurance Risks Investment Risks

18 15. ค่าความเสี่ยงจากการประกันภัย
การประกันวินาศภัย Reserving Risks ใช้ข้อมูลการบันทึกหนี้สินไหม เปรียบเทียบกับยอดที่จ่ายจริง Written Premium Risk ใช้ข้อมูล Frequency และ Severity รวมถึง ceilings และ deductions Concentration Risks

19 15. ค่าความเสี่ยงจากการประกันภัย (ต่อ)
การประกันชีวิต Policy Liability Risk ใช้ข้อมูลตารางมรณะ (และ Frequency และ Severity รวมถึง ceilings และ deductions สำหรับการประกันสุขภาพและอื่น ๆ) Interest Rate Risks สำหรับการสะสมทรัพย์ Surrender Value Condition ในกรณีที่มีการยกเลิกกรมธรรม์

20 16. ค่าความเสี่ยงจากการลงทุน
ตราสารทุน ตราสารหนี้ ตราสารอนุพันธ์ ใช้ข้อมูลจากตลาดทุน และเทียบเคียงกับเกณฑ์ กลต. และ กสล. เงินกู้ ใช้ข้อมูลจากตลาดสินเชื่อ บริษัทประกัน และเทียบเคียงกีบเกณฑ์ ธปท. อสังหาริมทรัพย์ การมีฐานะในเงินตราต่างประเทศ

21 17. แผนงาน 1. การพัฒนากรอบการวิเคราะห์ 2. การพัฒนาตัวแบบจำลอง
3. การเก็บข้อมูลและการกำหนดค่าพารามิเตอร์ 4. การทดสอบและการระบุค่าความเสี่ยง 5. การทำประชาพิจารณ์ 6. การปรับปรุง 7. การเตรียมการประกาศใช้


ดาวน์โหลด ppt การประยุกต์ใช้แนวทางของ IAIS เพื่อการกำกับดูแลบริษัทประกันภัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google