ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การอำนวยความปลอดภัยขณะก่อสร้าง
4 : การเตรียมพื้นที่ก่อสร้าง การอำนวยความปลอดภัยขณะก่อสร้าง เครื่องมือเจาะเก็บตัวอย่าง บรรทัดวัดความเรียบของผิวทาง สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท
2
การอำนวยความปลอดภัยขณะก่อสร้าง
4 : การเตรียมพื้นที่ก่อสร้าง การอำนวยความปลอดภัยขณะก่อสร้าง เครื่องมือเจาะเก็บตัวอย่าง บรรทัดวัดความเรียบของผิวทาง สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท
3
การเตรียมพื้นทาง ไหล่ทาง
4 : การเตรียมพื้นที่ก่อสร้าง การเตรียมพื้นทาง ไหล่ทาง ถ้าก่อสร้างทับบนผิวทางลาดยางเดิม ให้ปรับแต่งให้สม่ำเสมอ ถ้ามีหลุมบ่อ รอยแตก จุดอ่อนตัวหรือความเสียหายของชั้นทางใดๆ ให้ตัด หรือขุดออก แล้วปะซ่อม ตามแต่กรณี แล้วบดทับให้แน่นและมีผิวหน้าที่เรียบสม่ำเสมอ สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท
4
การเตรียมพื้นทาง ไหล่ทาง
4 : การเตรียมพื้นที่ก่อสร้าง การเตรียมพื้นทาง ไหล่ทาง ตรวจสอบความแน่น ความหนา ความกว้าง ราดยาง Prime Coat สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท
5
การเตรียมพื้นทาง ไหล่ทาง
4 : การเตรียมพื้นที่ก่อสร้าง การเตรียมพื้นทาง ไหล่ทาง กำหนดแนวขอบผิวทาง สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท
6
การเตรียมรอยต่อแอสฟัลต์คอนกรีต การเตรียมรอยต่อผิวทาง NRMA
บทที่ 4 : การเตรียมพื้นที่ก่อสร้าง รอยต่อตามตามขวาง การปูแอสฟัลต์ทับกันหลายชั้น ตะเข็บรอยต่อตามขวางชั้นบนและชั้นล่าง จะต้องห่างกันอย่างน้อย 5 ม. และจะต้องห่างจากรอยต่อขวางของช่องจราจรใกล้เคียงไม่น้อยกว่า 5 ม. รอยต่อตามแนวยาว การปูแอสฟัลต์ทับกันหลายชั้น ตะเข็บรอยต่อตามแนวยาวชั้นบนและชั้นล่างจะต้องเหลื่อมกันอย่างน้อย 15 ซม. วางแนวก่อนปู ใช้สีแต้มทำแนวทุกครั้งก่อนปู แนวตะเข็บชั้นที่จะปูทับเหลื่อมกัน (Overlap) รอยต่อ 15 ซม. 5 ม. แนวตะเข็บชั้นแรก รอยต่อ สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท
7
การเตรียมรอยต่อผิวทาง NRMA
บทที่ 4 : การเตรียมพื้นที่ก่อสร้าง รอยต่อตามแนวยาว การปูแอสฟัลต์ทับกันหลายชั้น ตะเข็บรอยต่อตามแนวยาวชั้นบนและชั้นล่างจะต้องเหลื่อมกันอย่างน้อย 150 มม. วางแนวและใช้สีแต้ม ทำแนวทุกครั้งก่อนปู แนวตะเข็บชั้นที่จะปูทับเหลื่อมกัน (Overlap) 15 ซม. แนวตะเข็บชั้นแรก สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท
8
5 : การปูผิวทางแบบ NRMA สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท
สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.