งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลการตรวจราชการ รอบที่ 1/2560 จ.พระนครศรีอยุธยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลการตรวจราชการ รอบที่ 1/2560 จ.พระนครศรีอยุธยา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลการตรวจราชการ รอบที่ 1/2560 จ.พระนครศรีอยุธยา
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service excellence) ผลการตรวจราชการ รอบที่ 1/2560 จ.พระนครศรีอยุธยา สป. กรมการแพทย์ สำนักนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค กรมสุขภาพจิต กรมแพทย์แผนไทย กรมอนามัย สบส. กรมวิทยาศาสตร์ สบรส.

2 ข้อมูลหน่วยบริการ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
16 อำเภอ 209 ตำบล 1,445 หมู่บ้าน ประชากร 808,505 คน F3 F2 F3 รพ.ระดับ A M1 M2 F2 F3 จำนวน 1 10 3 F2 F2 F2 F2 A F3 F2 F2 M1 F2 M2 F2 F2 Page 2

3 สาขาหลอดเลือดหัวใจ ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ
ตัวชี้วัด ผลงาน 59 ผลงาน 60 ตัวชี้วัด SP23. ร้อยละโรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไปมีการให้ยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ในผู้ป่วย STEMIได้ (100%) 100 50 8 แห่ง ตัวชี้วัด SP24. ผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI ได้รับการขยายหลอดเลือดและหรือยาละลายลิ่มเลือด (PPCI) ≥80% 82.61 71.10 ตัวชี้วัด SP25. อัตราตายในโรงพยาบาลของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI ≤ 10% - 15.79 ตัวชี้วัดที่ 26 อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจไม่เกิน 28 ต่อแสนประชากร (เก็บข้อมูลสิ้นไตรมาส4) 8.96 ข้อค้นพบ รพ.ที่ยังไม่ได้ให้ SK : เสนา บางไทร บางปะหัน ภาชี ลาดบัวหลวง บางซ้าย มหาราช บ้านแพรก แต่ระยะเวลาที่ผป.ได้รับยาสั้นลง วันนอนเฉลี่ยลดลง ค่าใช้จ่ายลดลง ระบบฐานข้อมูลUCHA จะปรับเป็น ACS registry อบรมมีนาคม ร่วมกับPCC. รพสต. ชุมชน และท้องถิ่น ในการติดตามผู้ป่วย โครงการจิตอาสาโรคหัวใจภาคประชาชน(เพื่อนช่วยเพื่อน) ข้อเสนอแนะ เก็บข้อมูลผป. NSTEMI ด้วย Page 3

4 สาขาทารกแรกเกิด 5.09 13 15 มี 100 (3 แห่ง) ข้อค้นพบ
ตัวชี้วัด ผลงาน 59 ผลงาน 60 ตัวชี้วัด23 อัตราตายของLB < 4:1000 4.54 5.09 ตัวชี้วัด SP5 เพิ่มเตียง NICU ให้ได้ตามเกณฑ์ 1:500 ทารกเกิดมีชีพ 13 15 ตัวชี้วัด SP6 มี Intrauterine transfer system ภายในเขตสุขภาพ - มี ตัวชี้วัด SP7 ร้อยละของโรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ F1 ขึ้นไปที่มีการคัดกรองโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด (> 60%) 100 (3 แห่ง) รพช.ยังทำไม่ได้ ข้อค้นพบ รพ.อยุธยามีเด็กทารกตาย 10 คน(under detect รพ.เอกชน, sepsis, PPHN, prolong hypoxia, palliative care , abnormality) รพ.เสนา 2 คน( PPHN, severe asphysia) รพศ.(อยุธยาฯ)เพิ่มเตียง NICU 2 เตียง เพิ่มขึ้น จาก 8 เป็น 10 รพท.เพิ่มเตียง NICU เพิ่มขึ้น จาก 4 เป็น 5 ขาดเครื่องมือ pulse oximeter ในรพช. นวัตกรรม ออกซิเจนแคนนูลาร์, ถุงเท้าเยี่ยมลูก และหมอนข้างแก้ม ข้อเสนอแนะ เน้นมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไข ปิดจุดเสี่ยง เพิ่มเตียง NICU ให้ได้ตามเกณฑ์ 1:500 = 2 เตียง Page 4

5 สาขา อุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ตัวชี้วัด ผลงาน59 ผลงาน60 ตัวชี้วัด 32 ร้อยละผู้ป่วยจากการบาดเจ็บ PS Score มากกว่าหรือเท่ากับ น้อยกว่า1 0.99 1.01 ตัวชี้วัด 31 ร้อยละของ ECS คุณภาพ ในรพ F2 มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60 - 46.10 ตัวชี้วัด SP32 ร้อยละของ ER คุณภาพ ในรพ F2 ร้อยละ 25 46.15 ข้อค้นพบ มีศัลยแพทย์ทั่วไป 7, ศัลยประสาท 3, ศัลยเด็ก, EP 4 TEA unit, AOC system , patient tracking system, Telemedicine, ศูนย์ประสานรับ ส่งต่อผป. ECS ยังไม่ผ่าน : บางปะอิน บางไทร ลาดบัวหลวง ภาชี มหาราช บางบาล บางซ้าย นวัตกรรม อยู่ระหว่างพัฒนาแอพิเคชั่นที่เป็นระบบที่ผป.สามารถแจ้งอุบัติเหตุ เหตุฉุกเฉิน ถึงบุคลากรกระทรวงสาธารณสุขในเขตรับผิดชอบได้ ข้อเสนอแนะ บริหารจัดการให้หน่วยงานที่ทำงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินทำงานประสานกันได้โดยสะดวก เชื่อมต่อข้อมูลถึงกันได้ Page 5

6 สาขามะเร็ง ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ ตัวชี้วัด ผลงาน59 ผลงาน60 60.37 74.28
ตัวชี้วัด 27 ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ที่ได้รับการรักษาตามเกณฑ์ที่กำหนด > 80% ตัวชี้วัด ผลงาน59 ผลงาน60 ได้รับการผ่าตัดหลังวินิจฉัยใน 4 Wk. > 80% 60.37 74.28 ได้รับการให้เคมีบำบัดใน 6 Wk. > 80% 69.23 94.44 ได้รับการให้รังสีรักษาใน 6 Wk. > 80% 60.00 16.66 ข้อค้นพบ - คัดกรองมะเร็งปากมดลูก (ปี 58-60) = 14.07 % พบ Stage II ๔ คน Stage IV ๑ คน - คัดกรองมะเร็งเต้านม = 32.88 % พบ Stage II จำนวน ๑๖ คน Stage III จำนวน ๕ คน - มีแพทย์เฉพาะทางศัลยกรรมเพียง ๒ คน ผ่าตัดเฉลี่ยวันละ ๑๕-๒๐ ราย โดยเปิดห้องผ่าตัดสำหรับผู้ป่วยมะเร็ง ๑ ห้อง - ให้ยาเคมีบำบัดใน CA colon มีเฉพาะยา 5 – FU + Leucovarin รพ.เสนา ยังไม่พร้อมให้ยา - รังสีรักษาส่งต่อ โรงพยาบาลมะเร็ง ระบบสารสนเทศ ขาดการส่งกลับข้อมูลจาก รพ.ปลายทาง รอคอยรังสีรักษานาน ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยมะเร็งระบบศีรษะและลำคอ รอทำฟัน ข้อเสนอแนะ เร่งรัดการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม บริหารจัดการคิวในการรับการรักษาให้เร็วขึ้น Page 6

7 สาขา ไต ติดตามข้อมูล HDC 73.8% 68.20 - 39.00 ข้อค้นพบ รางวัล
ตัวชี้วัดที่ 28 KPI CKD 2.3 ผลงาน59 ผลงาน60 eGFR < -4 ml/min/1.72m2/Yr. >65% 73.8% 68.20 การคัดกรองโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง(DM/HT)มากกว่า 40% ภายในมีนาคม60 - 39.00 ข้อมูล HDC วันที่ 1 มีนาคม 2560 ข้อค้นพบ - ข้อมูลตาม HDC ที่ยังต่ำกว่าเกณฑ์ : อยุธยา ท่าเรือ บางปะหัน วังน้อย มหาราช - HD+CAPD รพ.อยุธยา+เสนาและรพ.เอกชน ยังไม่มีที่รพ.บางประอินแต่จะขอทำ HD รางวัล 1. รางวัลที่ 1 ของประเทศในงานประกวดผลงานวิชาการนวัตกรรมการบริการที่ดีสำหรับประชาชน (Best Practice) จากโครงการรักษ์ไต ดูแลผู้ป่วยโรคไตแบบบูรณาการ 2. รางวัลอันดับ 2 ของประเทศ งานพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ล้างไตทางช่องท้อง PD excellence award ปี 2559 ข้อเสนอแนะ ติดตามข้อมูล HDC Page 7

8 สาขา จักษุ ตัวชี้วัด ผลงาน59 ผลงาน60 ร้อยละผู้ป่วย Blinding Cataract ผ่าตัดภายใน 30 วัน >80% 100 92.25 ร้อยละผู้สูงอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นได้รับการคัดกรองสายตา มากกว่าเท่ากับ 75 % - 56.75 ข้อมูลจากจังหวัด ข้อค้นพบ ผู้ป่วยเบาหวนได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนเข้าจอตา(ร้อยละ 60)= 16.74 คัดกรองสายตาเด็กนักเรียน9,184 คน พบผิดปกติส่งมารพ.อยุธยา 361 คน ได้รับแว่น 74 คน ข้อเสนอ ขอให้สนับสนุนพยาบาลเวชปฎิบัติทางตา เพื่อทำงานเชิงรุกร่วมกับจักษุแพทย์ และประสานงานกับชุมชน Page 8

9 สาขาสุขภาพจิต อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.3 ต่อแสนประชากรไทย
อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จแบ่งตามเขตสุขภาพ ปี 2558 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จเขตสุขภาพที่ 4 ปี 2558 ประเทศ=6.47 ต่อแสน 6.3 6.3 (27 คน) จำนวนผู้ฆ่าตัวตายสำเร็จจังหวัดอยุธยา(คน) ปี 2560 ไตรมาสที่ 1 - สาเหตุการเสียชีวิต สารเสพติด = 5 คน โรคเรื้อรัง = 3 คน สัมพันธภาพ = 2 คน สังคม-เศรษฐกิจ = 1 คน ข้อสังเกต อำเภอที่เป็นพื้นที่สีแดงของปปส. พบการฆ่าตัวตายสำเร็จจากสารเสพติด ลาดบัวหลวง อ.วังน้อย ผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จเป็นผู้ป่วยในกลุ่มเสี่ยง ๓ กลุ่ม แต่ยังไม่ได้เข้าสู่ระบบ ข้อเสนอแนะ เพิ่มคัดกรองเชิงรุกในชุมชน สัญญาณเตือนก่อนฆ่าตัวตาย การแก้ไขปัญหาสารเสพติด ปี 2559 ข้อมูลจากจังหวัด : 35 ราย(4.36 ต่อแสน)  สาขาสุขภาพจิต อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.3 ต่อแสนประชากร ในไตรมาสที่ 1 พบว่ามีจำนวนผู้ฆ่าตัวตายสำเร็จ 11 ราย สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการใช้สารเสพติด 5 ราย รองลงมาเป็นโรคเรื้อรัง ข้อสังเกต อำเภอซึ่งเป็นพท.สีแดงของปปส. พบการฆ่าตัวตายสำเร็จจากสารเสพติด รวม 11 คน เป้าหมายไม่เกิน 6.3 ต่อแสนประชากร(≤47 คน) หรือ ลดลง 5 %(≤25คน) Page 9

10 สาขา NCD COPD ตัวชี้วัด ผลงาน59 ผลงาน60 38.08 83.74 100 ข้อค้นพบ
อัตราการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง< 130 ต่อแสน ปชก. 38.08 83.74  อัตราการมีคลินิกโรคปอดอุดกั้นครบวงจรและได้มาตรฐาน มากกว่า 60% 100 ข้อค้นพบ รพ.ที่เกินเกณฑ์ : เสนา ลาดบัวหลวง บางปะหัน นวัตกรรม “กระเป๋าผ้าแลกยา” พัฒนาต่อยอดสู่การทบทวนการใช้ยาในผู้ป่วย รพ.เสนา ข้อเสนอแนะ สนับสนุนยาและเครื่องมือให้ผป.ในชุมชน Page 10

11 สาขา NCD Stroke ตัวชี้วัด ผลงาน 59 ผลงาน 60 ตัวชี้วัดที่ 21 อัตราตายโรคหลอดเลือดสมอง < 7 % 5.98 16.37  Stroke fast track ในโรงพยาบาล A,S ข้อค้นพบ มีStroke Unitที่รพ.อยุธยา 8 เตียง, ปี 2559 เพิ่มบริการการให้ยา rt-PA 24 ชั่วโมง พัฒนาศักยภาพ รพท.เสนา เปิด Stroke Unit 1 เตียง ให้ tr-PA ในเวลาราชการ อัตราการเสียชีวิตสูงในบางรพ. : เมือง เสนา ลาดบัวหลวง อัตราตายผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน 5.3% อัตราการมาโรงพยาบาลทันภายใน4.5 ชั่วโมง เพิ่มขึ้น 7.37% อัตราผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดภายใน 60 นาทีเพิ่มขึ้น30% ข้อเสนอแนะ เตือนภัย Stroke awareness พัฒนามาตรฐาน Care map ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติป้องกันการกลับเป็นซ้ำ หน้า 12

12 สิ่งที่พบจากการนิเทศ
ร้อยละ รพ.สต./ศสม. ผ่านเกณฑ์ จัดบริการสุขภาพช่องปาก 6 กลุ่มเป้าหมาย 14 กิจกรรมและ จัดบริการสุขภาพช่องปาก 200 คนต่อ 1000 ประชากร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปี 2560 เป้าหมาย ร้อยละ 60 11 4 แหล่งข้อมูล : HDC / ตัวชี้วัด / กระทรวง / ปี 2560 / 44.OHSP ร้อยละ รพ.สต./ศสม.ผ่านเกณฑ์ฯ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 เป้าหมาย ร้อยละ 60 สิ่งที่น่าชื่นชม จังหวัดพระนครศรีอยุธยาจัดอบรมผู้ช่วยงานทันตกรรมใน รพ.สต. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการทันตกรรมใน รพ.สต. โดยรับผู้สมัครใจจากเจ้าหน้าที่ใน รพ.สต. มาอบรมเพิ่มศักยภาพโดยใช้หลักสูตรที่พัฒนาร่วมกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 20 คน ใช้เวลาอบรม 5 สัปดาห์ สิ่งที่พบจากการนิเทศ ผลการดำเนินงานยังต่ำกว่าเป้าหมายในทุกอำเภอ ความครอบคลุมการจัดบริการสุขภาพช่องปากยังต่ำกว่าเป้าหมาย (ร้อยละ 20) ในหลาย รพ.สต./ศสม. เนื่องจากเป็นช่วงต้นปีงบประมาณ คาดว่าน่าจะถึงเป้าหมายได้ในช่วงปลายปีงบประมาณ ประเด็นเพี่อการพัฒนา บันทึกข้อมูลใน 43 แฟ้ม ให้ครบถ้วน ถูกต้องและครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย

13 ตัวชี้วัด ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน (เท่ากับ 18.5) ผลงาน 1/60 ผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก >18.5 % 10.76% ปัญหา ขาดบุคลากรแพทย์แผนไทยในหน่วยบริการ การเข้าถึงบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกส่วนใหญ่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ แพทย์ยังขาดความเชื่อมั่นในการสั่งจ่ายยาสมุนไพร แนวทางแก้ไข สนับสนุนให้มีการจัดบริการแพทย์แผนไทยที่ได้มาตรฐานและสนับสนุนให้มีแพทย์แผนไทยประจำหน่วยบริการทุกแห่ง จังหวัดจัดอบรมและประชุมชี้แจงการใช้ยาสมุนไพรในบัญชียาหลัก จัดกรอบอัตรากำลังแพทย์แผนไทย ให้มีความสอดคล้องกับนโยบาย

14 สาขาปลูกถ่ายอวัยวะ ตัวชี้วัด ผลงาน 60 ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ
ผู้ป่วยสมองตายยินยอมบริจาคอวัยวะ มากว่า 1ราย ต่อ 100 Hospital death (potential donor = 6 ราย) 1 ไต ตับ ผิวหนัง ผู้ป่วยยินยอมบริจาคดวงตา มากว่า 5ราย ต่อ 100 Hospital death 2 อยุธยา 1,เสนา 1 death case อยุธยา = 570 ราย เสนา...ราย ข้อค้นพบ จัดอบรมผู้นำ อสม.ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อให้การประชาสัมพันธ์ลงสู่ชุมชน ให้ความรู้กับโรงพยาบาลอำเภอ 15 อำเภอ จัดตั้งเป็นเครือข่ายศูนย์รับบริจาคอวัยวะและดวงตา ออกหน่วยประชาสัมพันธ์ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน สถานศึกษา ในจ.พระนครศรีอยุธยา และประชาสัมพันธ์ภายในโรงพยาบาลให้กับผู้มารับบริการ ข้อเสนอแนะ ส่งพยาบาลเข้าอบรมรับบริจาคอวัยวะและดวงตา เพื่อให้มีทักษะและประสบการณ์ ทำให้มียอดบริจาคเพิ่มขึ้น

15 สาขาPalliative Care ตัวชี้วัด ผลงาน 60
ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการดูแลแบบประคับประคอง 100 ข้อค้นพบ - มีแพทย์อบรมหลักสูตร Palliative care 2 เดือน 1 คน - รพช.ยังไม่มีพยาบาลที่ผ่านหลักสูตร Palliative care 4 แห่ง: ผักไห่ ภาชี บางไทร มหาราช - มีการใช้ Strong Opioids ในรพ.ทุกแห่ง นวัตกรรม - วิจัย“โครงการวิจัยเชิงสังเคราะห์เพื่อพัฒนาระบบบริการเพื่อดูแลผู้ป่วยระยะท้าย(Hospice care ) ในประเทศไทย” ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอยู่ระหว่างเก็บข้อมูล ข้อเสนอแนะ - จัดระบบบริการเป็นเครือข่ายและขยายลงชุมชนและการดูแลผป.ที่บ้าน จัดคลังอุปกรณ์รวม เพื่อให้บริการผป. Palliative care ทุกกลุ่มโรค ( 8 กลุ่ม ) การจัดเก็บข้อมูลใน HDC

16 Service Plan 3 สาขาหลัก รพ.M2 ลงไปสามารถดูแลรักษาผู้ป่วย สาขาสูติกรรม
C/S,PPH,Pneumoniaในเด็ก(1ด.-5ปี),Fractureไม่ซับซ้อน/ตายSepsis ลดลง เป้าหมาย : ลดความแออัดในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ (A,S) เพิ่มศักยภาพการให้บริการใน 3 สาขาหลักในหน่วยบริการที่เล็กลงตามความเหมาะสมของพื้นที่ ประเด็นที่มุ่งเน้น ระบบข้อมูล เป้าหมายบริการ ผลการจัดการ ประชาชนในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการ 3 สาขาหลักที่ได้มาตรฐาน ไร้รอยต่อโดยบริหารจัดการแบบเบ็ดเสร็จภายในเขตสุขภาพ 1.มีระบบข้อมูลแพทย์ผู้เชี่ยวชาญและเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญในระดับจังหวัด/เขต เพื่อใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ข้อมูลและร่วมกันแก้ไขปัญหาในจังหวัด 1.1 สาขาสูติกรรม - Caesarean Section 25% - อัตราตายPostpartum hemorrhage 0% 1.2 สาขากุมารเวชกรรม - อัตราป่วยตายPneumonia(1ด.-5ปี)ลดลง 10% 1.3 สาขาออร์โธปิดิกส์ - รักษากระดูกหักแบบไม่ซับซ้อนได้ 70% 1.4 สาขาอายุรกรรม - อัตราตายจากSepsis/septic shock<30% 1.สูติกรรม ดำเนินงานโดยใช้กลไก MCH board ร่วมกับ Service plan เพิ่มศักยภาพบุคลากร 2.กุมารเวชกรรม พัฒนาการเข้าถึงบริการและการเฝ้าระวังการระบาดของโรค เพื่อลดอัตราตาย 3.ออร์โธปิดิกส์ มีระบบส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ มีระบบให้คำปรึกษา Online 4.อายุรกรรม มีการทบทวน CPG และระบบส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ ผลการดำเนินงานรอบ ๓ เดือน สาขาสูติกรรม สาขากุมารเวชกรรม สาขาออร์โธปิดิกส์ สาขาอายุรกรรม Caesarean Section …0…..% ตาย Postpartum hemorrhage ราย อัตราป่วยตายPneumonia(1ด.-5ปี)เท่ากับ % รพช.ในจังหวัด สามารถรักษากระดูกหักแบบไม่ซับซ้อนได้ เท่ากับ …91.18…% อัตราตายจากSepsis/septic shockเท่ากับ … %

17 สาขาศัลยกรรม ตัวชี้วัด ผลงาน 59 ผลงาน 60
ร้อยละการแตกของไส้ติ่ง น้อยกว่าร้อยละ 20 10.98 ร้อยละของผู้ป่วยปวดท้องเฉียบพลัน 5 ภาวะที่เสียชีวิตใน รพ น้อยกว่า 4% 4.59 ร้อยละของผู้ป่วยภาวะขาดเลือดที่แขนหรือขาเสียชีวิตใน รพ น้อยกว่าร้อยละ 20

18 ผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลที่มีการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ขั้นที่ 1 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
รายชื่อรพ. RDU 1 : ประเมินกระบวนการดำเนินงาน (Process) ระดับ มีคณะกรรมการขับเคลื่อน SP-RDU มีระบบสารสนเทศในการจัดเก็บข้อมูล มีแผนปฏิบัติการจัดการเชื้อดื้อยาใน รพ. พระนครศรีอยุธยา A มี เสนา M1 บางปะอิน M2 ท่าเรือ F2 บางไทร บางบาล บางปะหัน ผักไห่ รายชื่อรพ. RDU 1 : ประเมินกระบวนการดำเนินงาน (Process) ระดับ มีคณะกรรมการขับเคลื่อน SP-RDU มีระบบสารสนเทศในการจัดเก็บข้อมูล มีแผนปฏิบัติการจัดการเชื้อดื้อยาใน รพ. ภาชี F2 มี  มี ลาดบัวหลวง วังน้อย สมเด็จพระสังฆราช (นครหลวง) อุทัย บางซ้าย F3 บ้านแพรก มหาราช

19 RDU 1 : ประเมินผลการดำเนินงาน (Output)
รายชื่อรพ. RDU 1 : ประเมินผลการดำเนินงาน (Output) 1) ร้อยละของรายการยาที่สั่งใช้ยา ED 2) ประสิทธิผลการดำเนินงานของคณะกรรมการ PTC 3) รายการยาที่ควรพิจารณาตัดออก 8 รายการ 4) การดำเนินงานในการจัดทำฉลากยามาตรฐาน 5) การดำเนินงานเพื่อส่งเสริมจริยธรรม พระนครศรีอยุธยา 74.94 2 1 3 เสนา 89.09 4 บางปะอิน 95.67 ท่าเรือ 97.84 5 บางไทร 93.14 บางบาล 98.51 บางปะหัน 96.19 ผักไห่ 99.13 รายชื่อรพ. RDU 1 : ประเมินผลการดำเนินงาน (Output) 1) ร้อยละของรายการยาที่สั่งใช้ยา ED 2) ประสิทธิผลการดำเนินงานของคณะกรรมการ PTC 3) รายการยาที่ควรพิจารณาตัดออก 8 รายการ 4) การดำเนินงานในการจัดทำฉลากยามาตรฐาน 5) การดำเนินงานเพื่อส่งเสริมจริยธรรม ภาชี 93.68 1 4 3 ลาดบัวหลวง 95.23 2 5 วังน้อย 91.81 สมเด็จพระสังฆราช (นครหลวง) 98.40 อุทัย 96.22 บางซ้าย 98.35 บ้านแพรก 98.42 มหาราช 98.14

20 ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน
รายชื่อรพ. RDU 2 ประเมินผลการดำเนินงาน (Output) สรุปผลการประเมินการเป็น RDU Hospital ขั้นที่ 1 (RDU1+RDU2) ร้อยละของ รพ.สต. /หน่วยบริการปฐมภูมิ ที่ผ่านเกณฑ์ (40%) ผ่าน ไม่ผ่าน พระนครศรีอยุธยา เสนา 13.33 บางปะอิน ท่าเรือ 8.33 บางไทร 8.70  √ บางบาล บางปะหัน ผักไห่ รายชื่อรพ. RDU 2 ประเมินผลการดำเนินงาน (Output) สรุปผลการประเมินการเป็น RDU Hospital ขั้นที่ 1 (RDU1+RDU2) ร้อยละของ รพ.สต. /หน่วยบริการปฐมภูมิ ที่ผ่านเกณฑ์ (40%) ผ่าน ไม่ผ่าน ภาชี ลาดบัวหลวง วังน้อย สมเด็จพระสังฆราช (นครหลวง) 16.67 อุทัย  √ บางซ้าย บ้านแพรก 25.00 มหาราช

21 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางการดำเนินงาน
แนวทางการดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย 1.ผู้ปฏิบัติงานขาดความรู้ในการลงรหัส วินิจฉัยโรค (ICD 10) 1. ประสานให้ผู้รับผิดชอบด้านการลงรหัสวินิจฉัยโรค (ICD 10)ให้ความรู้เรื่องการลงรหัสวินิจฉัยโรค (ICD 10) ที่ถูกต้องแก่ผู้ปฏิบัติ 2.ผู้ให้บริการบางส่วนไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสั่งใช้ยา 2.1 การควบคุม กำกับ ติดตาม โดยผู้บริหารระดับจังหวัดและระดับเขต 2.2 จัดทำคู่มือการสั่งจ่ายยา ATB ให้รพ.สต.

22 หัวข้อ การพัฒนาคุณภาพหน่วยงานบริการ: HA
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการ หัวข้อ การพัฒนาคุณภาพหน่วยงานบริการ: HA ประเด็นการตรวจราชการ ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 และ Reaccredit ร้อยละของ รพศ./รพท. ผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 และ Reaccredit = ร้อยละ 100 ร้อยละของ รพช. ผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 และ Reaccredit = ร้อยละ 71.43 ร้อยละของ รพ.ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 และ Reaccredit = ร้อยละ 75

23 ผลการรับรอง HA ณ 31 ธันวาคม 2559
ลำดับ โรงพยาบาล ระดับ ขั้นปัจจุบัน วันรับรอง วันหมดอายุ หมายเหตุ 1. พระนครศรีอยุธยา A r3 9 ม.ค. 58 8 ม.ค. 61 2. เสนา M1 r1 10 พ.ย. 58 9 พ.ย. 61 3. บางปะอิน M2 3 12 ก.ค. 59 11 ก.ค. 61 4. ท่าเรือ F2 r2 4 ก.พ. 58 3 ก.พ. 61 5. บางไทร 11 ต.ค. 59 10 ต.ค. 62 6. บางบาล 2 30 มิ.ย. 59 29 มิ.ย. 60 รอนัด สรพ. 7. บางปะหัน 30 ต.ค. 56 อยู่ระหว่างต่ออายุ สรพ. เข้า มี.ค.60 8. ผักไห่ 9. ภาชี F2 r1 27 ก.ย. 56 อยู่ระหว่างต่ออายุ สรพ. เข้า มี.ค.60 10. ลาดบัวหลวง 2 30 มิ.ย. 59 29 มิ.ย. 60 รอนัด สรพ. 11. วังน้อย 3 26 ก.ย. 57 12. สมเด็จพระสังฆราชนครหลวง r2 25 ต.ค. 59 24 ต.ค. 62 13. อุทัย 12 พ.ค. 57 11 พ.ค. 60 14. บางซ้าย F3 15. บ้านแพรก 26 ก.ค. 59 25 ก.ค. 61 16. มหาราช 25 พ.ค. 59 24 พ.ค. 60


ดาวน์โหลด ppt ผลการตรวจราชการ รอบที่ 1/2560 จ.พระนครศรีอยุธยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google