ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยCarmella Sanders ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
โครงการร่างกฎหมายการขนส่งสินค้าอันตรายสำหรับทุกภาคการขนส่งของประเทศ
สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2
พื้นฐานการกำกับดูแลสินค้าอันตรายในประเทศไทย
มีพื้นฐานมาจากการกำกับดูแลการขนส่งที่แบ่งแยกตาม โหมดการขนส่งและ ประเภทสินค้า สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โครงการศึกษาเพื่อพัฒนากฎหมายการขนส่งสินค้าอันตราย สำหรับทุกภาคการขนส่งของประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม
3
สรุปกฎหมายการขนส่งสินค้าอันตรายในประเทศไทย
การขนส่งทางถนน พระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 การขนส่งทางน้ำ พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พ.ศ. 2456 พระราชบัญญัติการรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534 สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม โครงการศึกษาเพื่อพัฒนากฎหมายการขนส่งสินค้าอันตราย สำหรับทุกภาคการขนส่งของประเทศ สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4
สรุปกฎหมายการขนส่งสินค้าอันตรายในประเทศไทย
การขนส่งทางอากาศ พระราชบัญญัติการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 ข้อบังคับการบินพลเรือน ฉบับที่ 62 ว่าด้วยการควบคุมการรักษาความปลอดภัยสินค้าทางอากาศและการขนส่งสินค้าอันตรายทางอากาศ พ.ศ. 2547 การขนส่งทางราง พระราชบัญญัติจัดวางทางรถไฟและทางหลวง พ.ศ. 2464 พระราชบัญญัติการรถไฟแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2494 สมุดอัตราสินค้า เล่ม ๑ กฎข้อบังคับและระเบียบการบรรทุกส่งห่อวัตถุ, สินค้าสิ่งของอันตรายหรือซึ่งเป็นที่พึงรังเกียจ เครื่องล้อเลื่อนกับสัตว์มีชีวิต พร้อมด้วยพิกัดอัตราค่าระวาง สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม โครงการศึกษาเพื่อพัฒนากฎหมายการขนส่งสินค้าอันตราย สำหรับทุกภาคการขนส่งของประเทศ สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
5
สรุปกฎหมายการขนส่งสินค้าอันตรายในประเทศไทย
กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. 2548 พระราชบัญญัติควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550 สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โครงการศึกษาเพื่อพัฒนากฎหมายการขนส่งสินค้าอันตราย สำหรับทุกภาคการขนส่งของประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม
6
ความพยายามในการปรับใช้มาตรฐานสากลในการกำกับดูแลการขนส่งสินค้าอันตราย
มาตรการกำกับดูแล มาตรฐานสากล ประกาศกรมเจ้าท่าฯ IMDG ข้อบังคับการบินพลเรือนฉบับที่ 62 ICAO-TI ประกาศกรมธุรกิจพลังงานฯ NFPA, ADR ข้อกำหนดการขนส่งสินค้าอันตรายของประเทศไทยฉบับที่ 1 (TP1) UN Recommendations 11th Edition (2000) ข้อกำหนดการขนส่งวัตถุอันตราย พ.ศ.2545 ADR ข้อกำหนดการขนส่งสินค้าอันตรายของประเทศไทยฉบับที่ 2 (TP2) ADR (2003) สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โครงการศึกษาเพื่อพัฒนากฎหมายการขนส่งสินค้าอันตราย สำหรับทุกภาคการขนส่งของประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม
7
การขนส่งสินค้าอันตราย
การจำแนกประเภท การบรรจุภัณฑ์ กระบวนการขนส่ง มาตรการเฉพาะ กรอบแม่บท ทางทะเล ทางอากาศ ทางถนน ทางราง ทางลำน้ำ พรบ.การขนส่งสินค้าอันตราย ข้อกำหนดการขนส่งสินค้าอันตรายของประเทศไทย (TP1) พรบ.การเดินเรือในน่านน้ำไทย พ.ศ.2456 ประกาศและคำสั่งกรมเจ้าท่า พรบ.การเดินอากาศ พ.ศ.2497 ข้อบังคับการบินพลเรือนที่ 62 พรบ.การขนส่งทางบก พ.ศ.2522 ข้อกำหนดการขนส่งวัตถุอันตราย พ.ศ.2545 ข้อกำหนดการขนส่งสินค้าอันตรายทางถนนของประเทศไทย (TP2) พรบ.จัดวางทางรถไฟและทางหลวง พ.ศ.2464 ประกาศและคำสั่งการรถไฟ พรบ.การเดินเรือในน่านน้ำไทย พ.ศ.2456 ประกาศและคำสั่งกรมเจ้าท่า
8
ข้อจำกัดการตีความตามตัวบทของ พรบ.วัตถุอันตราย
คิดค้น ออกแบบและพัฒนา ผลิต ขนส่ง ขาย ใช้ กำจัด ฐานคิดที่แตกต่างกันระหว่างการกำกับดูแล “วัตถุอันตราย” กับ “สินค้าอันตราย” สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม โครงการศึกษาเพื่อพัฒนากฎหมายการขนส่งสินค้าอันตราย สำหรับทุกภาคการขนส่งของประเทศ สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
9
ข้อจำกัดการตีความตามตัวบทของ พรบ.วัตถุอันตราย
“มีไว้ในครอบครอง” “การมีไว้ในครอบครองไม่ว่าเพื่อตนเองหรือผู้อื่น และไม่ว่าจะเป็นการมีไว้เพื่อขาย เพื่อขนส่ง เพื่อใช้ หรือเพื่อประการอื่นใด และรวมถึงการทิ้งอยู่ หรือปรากฏอยู่ในบริเวณที่อยู่ในความครอบครองด้วย” สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม โครงการศึกษาเพื่อพัฒนากฎหมายการขนส่งสินค้าอันตราย สำหรับทุกภาคการขนส่งของประเทศ สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
10
ข้อจำกัดการตีความตามตัวบทของ พรบ.วัตถุอันตราย
“มีไว้ในครอบครอง” “มาตรา 18 วัตถุอันตรายแบ่งออกตามความจำเป็นแก่การควบคุม ดังนี้ (1) วัตถุอันตรายชนิดที่ 1 ได้แก่วัตถุอันตรายที่การผลิต การนำเข้า การส่งออกหรือการมีไว้ในครอบครองต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนด (2) วัตถุอันตรายชนิดที่ 2 ได้แก่วัตถุอันตรายที่การผลิต การนำเข้า การส่งออกหรือการมีไว้ในครอบครองต้องแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อนและต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดด้วย (3) วัตถุอันตรายชนิดที่ 3 ได้แก่วัตถุอันตรายที่การผลิต การนำเข้า การส่งออกหรือการมีไว้ในครอบครองต้องได้รับใบอนุญาต (4) วัตถุอันตรายชนิดที่ 4 ได้แก่วัตถุอันตรายที่ห้ามมิให้มีการผลิต การนำเข้าการส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครอง...” สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม โครงการศึกษาเพื่อพัฒนากฎหมายการขนส่งสินค้าอันตราย สำหรับทุกภาคการขนส่งของประเทศ สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
11
ประกาศมติคณะกรรมการวัตถุอันตราย เรื่อง การขนส่งวัตถุอันตรายทางบก พ. ศ
ประกาศมติคณะกรรมการวัตถุอันตราย เรื่อง การขนส่งวัตถุอันตรายทางบก พ.ศ.2545 “การขนส่ง” หมายความว่า การขนส่งวัตถุอันตรายทางบกด้วยรถหรือพาหนะอื่นใด แต่ไม่หมายความรวมถึงการขนส่งวัตถุอันตรายทางรถไฟ สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม โครงการศึกษาเพื่อพัฒนากฎหมายการขนส่งสินค้าอันตราย สำหรับทุกภาคการขนส่งของประเทศ สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
12
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การขนส่งวัตถุอันตรายทางบก พ.ศ.2546
แม้ต่อมาจะมีประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การขนส่งวัตถุอันตรายทางบก พ.ศ.2546 เข้ามารับรองประกาศมติคณะกรรมการวัตถุอันตราย เรื่องการขนส่งวัตถุอันตรายทางบก พ.ศ.2545 ก็ไม่สามารถตอบคำถามความชอบด้วยกฎหมายซึ่งเป็นปัญหาของกฎหมายลำดับพระราชบัญญัติได้ สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม โครงการศึกษาเพื่อพัฒนากฎหมายการขนส่งสินค้าอันตราย สำหรับทุกภาคการขนส่งของประเทศ สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
13
พระราชบัญญัติควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ.2542
“มีไว้ในครอบครอง” กับ “การขนส่ง” “‘การมีน้ำมันเชื้อเพลิงไว้ในครอบครอง’ หมายความว่า การมีไว้ในครอบครองไม่ว่าเพื่อตนเองหรือผู้อื่น และไม่ว่าจะเป็นกรณีมีไว้เพื่อจำหน่าย เพื่อขนส่ง เพื่อใช้ หรือเพื่อประการอื่นใด และให้หมายความรวมถึงการทิ้งหรือปรากฏในบริเวณที่อยู่ในความครอบครองด้วย ‘การขนส่งน้ำมันเชื้อเพลิง’ หมายความว่า การเคลื่อนย้ายน้ำมันเชื้อเพลิง จากที่แห่งหนึ่งไปยังที่อีกแห่งหนึ่ง ไม่ว่าโดยทางบก ทางน้ำ ทางท่อ หรือโดยวิธีการอื่นใด” สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม โครงการศึกษาเพื่อพัฒนากฎหมายการขนส่งสินค้าอันตราย สำหรับทุกภาคการขนส่งของประเทศ สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
14
พรบ.วัตถุอันตราย พ.ศ.2535 มาตรา 4 กำหนดประเภทของวัตถุอันตรายเอาไว้ 10 ประเภทได้แก่ (1) วัตถุระเบิดได้ (Explosive) (2) วัตถุไวไฟ (Flammable) (3) วัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์ออกไซด์ (Oxidizing and Peroxide) (4) วัตถุมีพิษ (Toxic) (5) วัตถุที่ทำให้เกิดโรค (Infectious) (6) วัตถุกัมมันตรังสี (Radioactive) (7) วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Mutagenic) (8) วัตถุกัดกร่อน (Corrosive) (9) วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง (Irritant) และ (10) วัตถุอย่างอื่นไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใดที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม
15
ความจำเป็นต้องมีหน่วยงานกลางที่มีอำนาจหน้าที่
มติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 28 ธันวาคม 2547 ที่อนุมัติตามมติคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ 6 (ฝ่ายคมนาคม พลังงาน และเทคโนโลยีสารสนเทศ) ที่ให้ความเห็นชอบแก่ข้อกำหนดด้านการขนส่งสินค้าอันตรายของประเทศไทย เล่มที่ 2 (TP2) และให้ความเห็นว่าควรมีหน่วยงานกลางมารับผิดชอบเพื่อให้เกิดบูรณาการ คำสั่งคณะกรรมการวัตถุอันตรายที่ 8/2551 เรื่องการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการประสานการบริหารจัดการกำกับดูแลการขนส่งวัตถุอันตรายที่ประกอบไปด้วยผู้แทนหน่วยงานและผู้ทรงคุณวุฒิถึง 30 ท่านเพื่อให้การประสานความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพโดยเฉพาะตามแนวทางข้อกำหนดการขนส่งวัตถุอันตรายทางบก พ.ศ.2545 และข้อกำหนดด้านการขนส่งสินค้าอันตรายของประเทศไทย เล่มที่ 2 (TP2) สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม โครงการศึกษาเพื่อพัฒนากฎหมายการขนส่งสินค้าอันตราย สำหรับทุกภาคการขนส่งของประเทศ สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
16
ข้อผูกพันตามพันธกรณีระหว่างประเทศ
พิธีสารฉบับที่ 9 ตามกรอบข้อตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าข้ามแดน (ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit) โดยกำหนดให้การกำกับดูแลการขนส่งสินค้าอันตรายจะต้องอ้างอิงถึง UN Recommendations และ ADR ความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (Greater Mekong Subregion Cross-Border Transport Agreement หรือ GMS-CBTA) โดยกำหนดให้ประเทศสมาชิกนำวิธีการตาม UN Recommendations และ ADR มาใช้อย่างเต็มรูปแบบ โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับ การบรรจุภัณฑ์ การติดฉลากสินค้าอันตราย การทำเครื่องหมายบนตัวรถ การขนถ่ายเคลื่อนย้าย การจัดวาง การผูกยึด เอกสารกำกับการขนส่งและการสำแดง การอบรมผู้ประจำรถ ข้อควรระวังเกี่ยวกับการเกิดเพลิงไหม้ และ/หรือการระเบิด
17
คำอธิบายตาราง
22
แนวทางแก้ไขเพิ่มเติม กฎหมายการขนส่งแต่ละโหมด พรบ.การขนส่งสินค้าอันตราย
พรบ.วัตถุอันตรายฯ กฎหมายการขนส่งแต่ละโหมด แนวทางออกกฎหมายใหม่ พรบ.การขนส่งสินค้าอันตราย 1. นิยามความหมายและกรอบการกำกับดูแล 1.1 เพิ่ม “การขนส่ง” เข้าในบทนิยาม มาตรา 4 1.2 เพิ่ม “สินค้าอันตราย” เข้าในบทนิยาม มาตรา 4 N/A 1.1 กำหนดนิยามความหมาย “การขนส่งสินค้าอันตราย” 2. คณะกรรมการ และสำนักงาน 2.1 เพิ่มผู้ดำรงตำแหน่งคณะกรรมการวัตถุอันตรายให้มีคณะกรรมการโดยตำแหน่งที่มีความรู้เกี่ยวกับการขนส่งสินค้าอันตราย 2.1 จัดตั้งคณะกรรมการการขนส่งสินค้าอันตรายและสำนักงาน 3. ขอบเขตงาน 3.1 เพิ่มอำนาจของคณะกรรมการวัตถุอันตราย ให้มีอำนาจกำหนดนโยบายของการดูแลการขนส่งสินค้าอันตราย ให้รวมถึง (1) การกำหนดมาตรฐานและการฝึกอบรม (2) การจำแนกประเภทสินค้าอันตราย (3) บัญชีสินค้าอันตรายและข้อยกเว้นการขนส่งในปริมาณที่จำกัด (4) การบรรจุภัณฑ์และการใช้แท็งก์ (5) กระบวนการที่จำเป็นเพื่อการขนส่ง (6) ข้อกำหนดการผลิตและการทดสอบบรรจุภัณฑ์ (7) ข้อกำหนดว่าด้วยการปฏิบัติในการขนส่ง 3.1 อาศัยอำนาจตามกฎหมายของแต่ละโหมดออกกฎหมายลำดับรองเพื่อกำกับดูแลการขนส่งสินค้าอันตราย ให้รวมถึง 3.1 กำหนดอำนาจหน้าที่ในการกำหนดนโยบายของคณะกรรมการการขนส่งสินค้าอันตราย ให้รวมถึง 4. บทเฉพาะกาล 4.1 กำหนดรับรองหน่วยงานและมาตรการกำกับดูแลทั้งหลายที่มีอยู่เดิมตามกรอบมาตรฐานที่กำหนดได้แก่ IMDG, DGR, ADR, ADN, RID 4.2 รับรองและให้ถือว่า ข้อกำหนดการขนส่งวัตถุอันตราย, TP1 และ TP2 มีผลใช้บังคับตามกฎหมายและให้มีการทบทวนภายใน 2 ปี ตามกรอบ UN Recommendations และบังคับใช้การจำแนกประเภทสินค้าอันตรายด้วย UN Number 4.3 ออกมาตรการใหม่ที่ยังขาดอยู่ตามความจำเป็นและปรับปรุงแก้ไขมาตรการให้สอดคล้องกันเป็นระบบในทุกโหมดการขนส่ง
23
แนวทางแก้ไขเพิ่มเติม กฎหมายการขนส่งแต่ละโหมด พรบ.การขนส่งสินค้าอันตราย
พรบ.วัตถุอันตรายฯ กฎหมายการขนส่งแต่ละโหมด แนวทางออกกฎหมายใหม่ พรบ.การขนส่งสินค้าอันตราย 5. ข้อดี 5.1 ไม่ต้องตรากฎหมายฉบับใหม่ 5.2 คณะกรรมการวัตถุอันตรายเป็น competent authority 5.3 การกำกับดูแลแบบรวมศูนย์ 5.2 ไม่ต้องแก้ไขกฎหมายเดิม 5.3 เนื้อหาส่วนใหญ่ง่ายต่อการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพราะอยู่ในกฎหมายลำดับรอง 5.1 มีกฎหมายลำดับพระราชบัญญัติกำหนดกรอบการกำกับดูแลการขนส่งสินค้าอันตรายอย่างชัดเจน 5.2 คณะกรรมการการขนส่งสินค้าอันตรายเป็น competent authority 5.3 การกำกับดูแลแบบรวมศูนย์ ส่งเสริมการประสางานและร่วมมือกันให้เกิดมาตรฐานเดียวกันในทุกโหมดการขนส่ง มีเพียงบางกรณีที่คณะกรรมการมอบหมายให้หน่วยงานที่เคยดำเนินการอยู่เดิมดำเนินต่อไปภายใต้กรอบเดียวกัน เช่น กำหนดให้กรมโรงงานและกรมธุรกิจพลังงานดูแลแท็งก์ติดตรึงต่อไป 6. ข้อเสีย 6.1 การแก้ไขส่งผลให้เป็นการนำหลักการที่พื้นฐานต่างกันมาอยู่ในกฎหมายฉบับเดียวกัน 6.2 ต้องแก้ไขเพิ่มเติมมากจนไม่ต่างกับการร่างกฎหมายใหม่ 6.3 เพิ่มความซับซ้อนในการประสานงานและร่วมมือให้เกิดมาตรฐานเดียวกัน ระหว่างกระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวงคมนาคม เช่น คณะกรรมการอาจกำหนดให้กรมโรงงานดูแลการขนส่งสินค้าอันตรายทางบกซึ่งรวมถึงการรับรองบรรจุภัณฑ์ แต่ขณะเดียวกันก็กำหนดให้กรมเจ้าท่าดูแลการขนส่งสินค้าอันตรายทางน้ำซึ่งรวมถึงการบรรจุภัณฑ์ที่ต้องมีมาตรฐานเดียวกัน เป็นต้น 6.1 ต้องออกกฎหมายลำดับรองจำนวนมากทำให้การกำกับดูแลไม่รวมศูนย์ กระจัดกระจายตามโหมดการขนส่ง 6.2 มี competent authority หลายหน่วยงานแยกกันไปตามโหมดการขนส่ง 6.3 ยากต่อการประสานงานและร่วมมือให้เกิดมาตรฐานเดียวกัน 6.1 ความยากลำบากในการตรากฎหมายใหม่ (ทั้งทางกระบวนการ และทางการเมือง)
24
ร่างพระราชบัญญัติการขนส่งสินค้าอันตราย…
เป็นการกำกับดูแลตามสาระของการขนส่งสินค้าอันตรายที่สอดคล้องกันและไม่มีกระบวนการซ้ำซ้อนตามโหมดการขนส่ง ช่วยลดขั้นตอนและความซ้ำซ้อนระหว่างหน่วยงานผ่านกรอบการกำกับดูแลตามร่าง พรบ. เฉพาะเรื่อง ที่เป็นระบบและเข้าใจง่าย เป็นการวางมาตรฐานความปลอดภัยสากลในประเทศไทย และให้อำนาจหน้าที่แก่หน่วยงานที่รับผิดชอบดำเนินการภายในระยะเวลาที่เหมาะสม
25
ร่างพระราชบัญญัติการขนส่งสินค้าอันตราย…
4. สาระของการกำกับดูแลมุ่งเน้นไปที่ การจำแนกประเภทสินค้าอันตราย (UN Number) การรับรองบรรจุภัณฑ์ (UN Mark) วิธีการบรรจุและวิธีการขนส่งตามมาตรฐาน และเอกสารการขนส่งของสินค้าอันตรายซึ่งรวมถึงแผนเผชิญเหตุ การบริหารความเสี่ยงด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินความเสี่ยง, การประเมินความปลอดภัยตามมาตรฐาน, ระบบข้อมูล และแผนเผชิญเหตุ
26
UN Guideline International Organizations Responsible Ministries
Neighboring Countries Advisory Group Ministerial Bodies Industry Concerned Ministries Concerned Government Bodies Concerned Ministerial Bodies
27
Federal Ministry of Transport, Building and Urban Development (BMVBS)
Working Groups (Class 1, Class 2, Class 6.2, Class 7) Working Groups (classification, packaging, tanks) Dangerous Goods Division Advisory Board (AGGB) Working Groups … Federal Institute of Materials Research and Testing (BAM) Federal Motor Transport Authority (KBA) Robert Koch Institute (RKI) WIWeB Federal Office for Radiation Protection (BfS) Chamber of Commerce and Industry (IHK) Federal Environment Agency (UBA) Federal Institute for Risk Assessment (BfR) Physikalisch-Technische Bundesanstalt (PTB) Physikalisch-Technische Bundesanstalt (PTB)
28
Dangerous Goods Act (GGBefG Gefahrgutbeförderungsgesetz)
DGSA Regulation (GbV) Supervision Consultation Road Rail Inland waterways Sea Air Dangerous Goods Regulation for Road Rail and Inland Waterways (GGVSEB) Dangerous Goods Regulation for Sea (GGVSee) Air Traffic Act (LuftVG) and News for Airtransport (NfL) ADR RID ADN IMDG-Code ICAO-TI IATA-DGR
29
การขนส่งสินค้าอันตราย
การจำแนกประเภท การบรรจุภัณฑ์ กระบวนการขนส่ง มาตรการเฉพาะ กรอบแม่บท ทางทะเล ทางอากาศ ทางถนน ทางราง ทางลำน้ำ พรบ.การขนส่งสินค้าอันตราย ข้อกำหนดการขนส่งสินค้าอันตรายของประเทศไทย (TP1) พรบ.การเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ ประกาศและคำสั่งกรมเจ้าท่า พรบ.การเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ ข้อบังคับการบินพลเรือนที่ ๖๒ พรบ.การขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ข้อกำหนดการขนส่งวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๔๕ ข้อกำหนดการขนส่งสินค้าอันตรายทางถนนของประเทศไทย (TP2) พรบ.จัดวางทางรถไฟและทางหลวง พ.ศ. ๒๔๖๔ ประกาศและคำสั่งการรถไฟ พรบ.การเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ ประกาศและคำสั่งกรมเจ้าท่า
30
กระทรวงคมนาคม คณะกรรมการฯ กรมการบินพลเรือน กรมการขนส่งทางบก กรมเจ้าท่า
Working Groups (Class 1, Class 2, Class 6.2, Class 7) Working Groups (classification, packaging, tanks) กองขนส่งสินค้าอันตราย คณะกรรมการฯ Working Groups … กรมการบินพลเรือน กรมการขนส่งทางบก กรมเจ้าท่า กรมวิทยาศาสตร์บริการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย เอกชนอื่นๆที่ได้รับการรับรอง กรมโรงงานอุตสาหกรรม ศูนย์บรรจุหีบห่อไทย สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ กรมธุรกิจพลังงาน
31
อำนาจหน้าที่ ขั้นตอนการกำกับดูแล บทลงโทษและความรับผิด
ร่างพ.ร.บ. การขนส่งสินค้าอันตรายสำหรับทุกภาคการขนส่งของประเทศ พ.ศ... สาระสำคัญ หน่วยงานกำกับดูแล อำนาจหน้าที่ ขั้นตอนการกำกับดูแล บทลงโทษและความรับผิด บทเฉพาะกาล กฎหมายของต่างประเทศ ข้อกำหนดสากล องค์การเครือข่าย อำนาจการกำกับดูแล จัดกลุ่มภารกิจงานให้ชัดเจน การกำหนดบทลงโทษ รูปแบบโทษความรับผิด
32
สรุปประเด็นการร่างกฎหมาย
กรอบแม่บทการกำกับดูแลการขนส่งสินค้าอันตราย พรบ.การขนส่งสินค้าอันตราย UN Recommendations หน่วยงานกำกับดูแล คณะกรรมการขนส่งสินอันตราย กองขนส่งสินค้าอันตราย กรมการขนส่งทางบก กรมเจ้าท่า กรมการบินพลเรือน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.