งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มาตรฐานงานสุขศึกษา &โปรแกรมประเมิน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มาตรฐานงานสุขศึกษา &โปรแกรมประเมิน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มาตรฐานงานสุขศึกษา &โปรแกรมประเมิน

2 มาตรฐานงานสุขศึกษา คือ แนวทางการพัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษา
และวัดความสำเร็จของการดำเนินงาน ของสถานบริการสุขภาพทุกระดับ

3 โครงสร้างของมาตรฐานงานสุขศึกษา
หมวดที่ 1 การบริหารจัดการ องค์ประกอบ 1, 2, 3 หมวดที่ 2 กระบวนการดำเนินงาน องค์ประกอบ 4, 5, 6, 7 4 หมวด 10 องค์ประกอบ หมวดที่ 3 กระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการ องค์ประกอบ 8, 9 หมวดที่ 4 ผลลัพธ์การดำเนินงาน องค์ประกอบ 10

4 ความเชื่อมโยงขององค์ประกอบ
1. นโยบาย 8. เฝ้าระวัง 2. ทรัพยากร 3. ระบบ ข้อมูล สาร สนเทศ 9. วิจัย 4. วางแผน 5.ดำเนินงาน 6. การติดตามสนับสนุน 7. ประเมินผล 10. ผลลัพธ์

5 ระดับผลการประเมินตนเอง ของมาตรฐานงานสุขศึกษา
ระดับที่ 3 ระดับดีมาก ระดับที่ 2 ระดับดี ระดับที่ 1 ระดับพอใช้ องค์ องค์ 1 - 7 องค์ 3, 4, 5 และ 7 * หากดำเนินงานผ่านบางเกณฑ์/บางตัวชี้วัด/บางองค์ประกอบ แต่ยังไม่เข้าตามระดับ เรียก “ ระยะพัฒนา”

6 ใช้ตัวชี้วัดเดียวกัน แต่เกณฑ์แตกต่าง ตามระดับสถานบริการสุขภาพ
ใช้ตัวชี้วัดเดียวกัน แต่เกณฑ์แตกต่าง ตามระดับสถานบริการสุขภาพ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป เกณฑ์ โรงพยาบาลชุมชน เกณฑ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เกณฑ์

7 เกณฑ์ที่ไม่มีใน รพ.สต. 5 เกณฑ์
เกณฑ์ 2.1.2 บุคลากรมีวุฒิหรือประสบการณ์ เกณฑ์ 3.2.2 มีข้อมูลความต้องการใช้สื่อ เกณฑ์ 3.2.3 มีการประเมินสื่อ เกณฑ์ 4.2.4 แผนงานโครงการมีการถ่ายทอดสู่ผู้ปฏิบัติ เกณฑ์ 8.1.2 มีการสร้างและพัฒนาเครื่องมือเฝ้าระวัง

8 การเตรียมตัวเพื่อการประเมินตนเอง
รูปแบบ 1. ประชุมผู้เกี่ยวข้องร่วมประเมินไปด้วยกัน 2 ประเมินตนเองโดยบุคคลที่เป็นเจ้าภาพหลัก ขั้นตอน 1. เตรียมข้อมูลแผนยุทธศสตร์ CUP เรื่อง การพัฒนา พฤติกรรมตามปัญหาสุขภาพ ในอันดับต้นๆ 5 ปัญหา 2. วิเคราะห์ข้อมูลตามเกณฑ์มาตรฐานสุขศึกษา และ บันทึก ในเอกสาร 3. เข้าสู่โปรแกรมการประเมินตนเอง และ Copy ข้อมูล

9 ขั้นตอน การประเมินตนเอง
1. เตรียมข้อมูลแผนยุทธศสตร์ CUP เรื่อง การพัฒนาพฤติกรรมตาม ปัญหาสุขภาพ ในอันดับต้นๆ 5 ปัญหา 2. วิเคราะห์ข้อมูลตามเกณฑ์มาตรฐานสุขศึกษา และ บันทึกในเอกสาร 3. เข้าสู่โปรแกรมการประเมินตนเอง และ Copy ข้อมูลจากเอกสารสู่ โปรแกรม โดย 1 องค์ประกอบต้องดำเนินการให้เสร็จภายใน 1 ชม. *จะดำเนินการทั้ง 10 องค์ประกอบแบบต่อเนื่องจนเสร็จ หรือ ดำเนินการทีละองค์ประกอบตามความพร้อมก็ได้* 4. ตรวจสอบผลการประเมินตนเองรายเกณฑ์/องค์ประกอบ และกำหนด วิธีการปรับปรุงกระบวนงาน 5. สรุปผลการประเมินตนเอง รวมทั้ง แนวทาง/วิธีการปรับปรุงเกณฑ์/ องค์ประกอบที่ไม่ผ่านเกณฑ์

10 ตัวอย่างการนำเสนอผลการประเมินตนเอง
จำนวน ผ่าน ไม่ผ่าน 41 เกณฑ์ ร้อยละ

11 ตัวอย่างการนำเสนอผลการประเมินตนเอง
ระบุเกณฑ์ที่ไม่ผ่าน แนวทางปรับปรุง องค์ที่ 1 เกณฑ์ เกณฑ์.....

12 1.1.1 1.1.2 1.1.3 องค์ 1 นโยบายการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนา
พฤติกรรมสุขภาพมีนโยบายฯของรพ.เป็นลายลักษณ์อักษร 1.1 ลักษณะของนโยบายฯ 1.1.1 1.1.2 1.1.3 มีนโยบายฯของรพ.เป็นลายลักษณ์อักษร เกิดจากการ มีส่วนร่วมของภาครัฐและ ภาคประชาชนที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ เป็นที่รับรู้ของผู้เกี่ยวข้องในรพ.ภาครัฐและภาคประชาชนในพื้นที่

13 หลักฐานที่ต้องแสดง องค์ 1
1. เอกสาร/ภาพนโยบายของ รพ.หรือ ของ CUP 2. เอกสารแสดงกระบวนการร่างนโยบาย เช่น รายงานการ ประชุม/ภาพถ่าย การมีส่วนร่วม (คำสั่ง / รายชื่อ/หนังสือเชิญ การประชุม/ 3. หนังสือเวียน/เอกสารประกาศนโยบาย

14 องค์ 2 ทรัพยากรการดำเนินงานสุขศึกษาฯ
องค์ 2 ทรัพยากรการดำเนินงานสุขศึกษาฯ 2.1 บุคลากรที่รับผิดชอบงานสุขศึกษา มีการมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร มีวุฒิหรือมีประสบการณ์ด้านสุขศึกษา ได้รับการพัฒนาด้านสุขศึกษาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 2.2 งบประมาณ หรือทรัพยากร ได้รับงบประมาณหรือทรัพยากรจาก รพ. ภาครัฐ หรือ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ตามกิจกรรมในแผน

15 หลักฐานที่ที่ต้องแสดง องค์ 2
หลักฐานที่ที่ต้องแสดง องค์ 2 เอกสารทรัพยากร * คำสั่ง คกก./คำสั่งมอบหมายงาน/ ผังองค์กรที่ระบุ ผู้รับผิดชอบ * บันทึกประวัติ HRD /ใบประกาศนียบัตร (ถ้ารพศ./รพท.ต้องแสดงวุฒิการศึกษา) * ตารางแสดงงบฯ ตามโครงการฯ

16 องค์ 3 ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านการดำเนินงานฯ
3.1 ฐานข้อมูล ด้านพฤติกรรมสุขภาพ จำแนกประเภทข้อมูลสอดคล้องกับปัญหา -วิธีการรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมที่เชื่อถือ และตรวจสอบได้ -ปรับข้อมูลเป็นปัจจุบัน ปีละ 1 ครั้ง -เชื่อมโยงกับเครือข่ายทั้งใน/นอกรพ. 3.2 ฐานข้อมูล ด้านสื่อสุขศึกษา จำแนกประเภทข้อมูลสื่อสุขศึกษา -มีข้อมูลความต้องการใช้สื่อสุขศึกษา -มีการประเมินคุณภาพสื่อที่ใช้และแจ้งผลการประเมินสื่อ หรือนำมาปรับปรุงพัฒนาสื่อ -เผยแพร่ข้อมูลสื่อ 3.3 ฐานข้อมูล เครือข่ายสุขศึกษา จำแนกประเภทข้อมูลเครือข่าย -ปรับข้อมูลเครือข่าย เป็นปัจจุบัน ปีละ 1 ครั้ง -เชื่อมโยงข้อมูลเครือข่ายทั้งใน/นอกรพ.

17 หลักฐานที่ที่ต้องแสดง องค์ 3
หลักฐานที่ที่ต้องแสดง องค์ 3 1. เอกสาร / File แสดงฐานข้อมูลพฤติกรรมที่แยกประเภทตามปัญหาสาธารณสุข ที่มีการวิเคราะห์เป็นค่าร้อยละจำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย ปัญหาสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย พฤติกรรมเสี่ยง หรือ พฤติกรรมการจัดการตนเองย้อนหลัง 3 ปี 1.โรค 1 1. กลุ่ม... 2. 3.

18 หลักฐานที่ที่ต้องแสดง องค์ 3
หลักฐานที่ที่ต้องแสดง องค์ 3 2. เอกสาร/File แสดงฐานข้อมูลสื่อ ที่แยกประเภทสื่อ/การรับ- จ่าย การส่งต่อ ปัจจุบันคงเหลือ (เน้นสื่อที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่กำหนด โดย ดู Keymessage ว่าสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ องค์ 4 ) 3. เอกสาร/File แสดงฐานข้อมูลเครือข่ายรัฐ/เอกชน เน้น เครือข่ายกลุ่ม/ชมรมจิตอาสา ร่วม ดำเนินงานแก้ปัญหาฯ ในอันดับต้นๆเป็นปัจจุบัน 4. เอกสาร /intranet / หนังสือแสดงการเชื่อมโยง/ภาพถ่ายการคืนข้อมูลใน-นอกสถานบริการ 5. รายงาน วิธีการและผลการประเมินความต้องการ/คุณภาพ สื่อ/หนังสือแจ้งผล ประเภทสื่อ ชื่อสื่อ จำนวน แหล่งเผยแพร่สื่อ ลายเซ็น 1. ประเภทเครือข่าย ชื่อ-สกุล ที่อยู่ โทรฯ /Mail ปี…….

19 องค์ 4 แผนการดำเนินงานสุขศึกษาฯ
4.1 มีแผนสุขศึกษาฯบูรณาการในแผนงาน/โครงการ ที่เป็นปัญหาสาธารณสุข มีวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพในแผนงาน/โครงการในรพ. และในชุมชน 4.2 ลักษณะแผนการดำเนินงานสุขศึกษา ใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลพฤติกรรม,สื่อและเครือข่าย ครอบคลุมการเรียนรู้ การพัฒนาทักษะ และพัฒนาปัจจัยแวดล้อม จัดทำโดยการมีส่วนร่วมกับทีมสหวิชาชีพจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและประชาชน มีการถ่ายทอดสู่ผู้ปฏิบัติงาน

20 หลักฐานที่ที่ต้องแสดง องค์ 4
* ตาราง/โครงการที่ทำทั้งกลุ่มไม่ป่วย และ ป่วยที่อนุมัติ (ทั้งของทีม PCT และ ของชุมชน) 1. ดูหลักการเหตุผลใช้ข้อมูลมาจาก องค์ 3 2. ดูวัตถุประสงค์ หรือ ตัวชี้วัด ของโครงการ มีการวัดพฤติกรรม 3. ดูกิจกรรมในโครงการ เน้น ครอบคลุมแก้ปัจจัยในบุคคล ครอบครัว เพื่อน ชุมชน สังคม (ข้อกำหนดชุมชน สื่อสารชุมชน ฯลฯ) ที่ไม่ใช่เจ้าหน้าที่ทำ 3. รายงานการประชุมถ่ายทอดแผน/หนังสือแจ้งโครงการ/ภาพถ่ายประชาคม/ โครงการ วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม(3ด้าน) ผู้รับผิดชอบ 1.

21 องค์ 5 กิจกรรมสุขศึกษาฯ
องค์ 5 กิจกรรมสุขศึกษาฯ 5.1 ลักษณะของการจัดกิจกรรม มีการจัดกิจกรรมในรพ.และในชุมชนหรือบูรณาการในงาน บริการที่กำหนด ตามแผนงาน/โครงการ มีการจัดกิจกรรมที่มุ่งการเรียนรู้ พัฒนาทักษะ พัฒนาปัจจัยแวดล้อม มีการจัดกิจกรรมในรพ.และในชุมชนที่ประกอบด้วย ทีมสหวิชาชีพ หรือ ภาคีเครือข่าย

22 หลักฐานที่ที่ต้องแสดง องค์ 5
* ใช้ตารางโครงการร่วมกับองค์ 4 * สรุปผลการดำเนินงานทั้งในชุมชน และ รพ. เพิ่มการมีส่วนร่วมของสหวิชาชีพ และภาคีเครือข่าย * ภาพถ่ายจัดกิจกรรม จำแนกรายด้าน

23 องค์ 6 การติดตามสนับสนุนงานสุขศึกษาฯ
6.1 กระบวนการติดตามสนับสนุนฯ 6.1.1 ติดตามสนับสนุนฯ ตามที่กำหนดในแผนงาน/ โครงการ 6.1.2 นำข้อมูลจากการติดตามสนับสนุนฯไปใช้ปรับปรุงแก้ไขปัญหา

24 หลักฐานที่ที่ต้องแสดง องค์ 6
* แผนการกำกับ ติดตามกิจกรรมในโครงการ ระบุพื้นที่ ผู้ติดตาม กลุ่มที่ติดตาม เวลา ปัญหาที่พบ (เน้น กิจกรรมที่ติดตาม สนับสนุนในกลุ่มผู้ป่วย ญาติ เครือข่าย กลุ่ม/ชมรมที่ดำเนินงานแทน จนท.) * สรุปรายงาน/หนังสือเสนอผู้บริหาร * ภาพถ่ายกิจกรรม สิ่งที่ติดตาม ระยะเวลา ทีม/ผู้ติดตาม ผู้รับการติดตาม ผล ปัญหา/ข้อเสนอแนะ

25 องค์ 7 การประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษา
7.1 กระบวนการประเมินผลฯ 7.1.1 มีแนวทางการประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษาที่ระบุตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพ เครื่องมือ ระยะเวลา และกลุ่มเป้าหมายตามแผนงานหรือโครงการที่กำหนด 7.1.2 มีการประเมินผลและรายงานผลเป็นลายลักษณ์อักษร 7.1.3 นำผลประเมินไปใช้ปรับปรุงการดำเนินงานสุขศึกษา

26 หลักฐานที่ที่ต้องแสดง องค์ 7
* แผน/แนวทางการประเมิน ที่สอดคล้องกับที่ระบุ ใน แผน /โครงการ จากองค์ 4 * เครื่องมือ/แนวทางการเก็บข้อมูล ตามกลุ่มเป้าหมาย (ป่วย/ไม่ป่วย) ในโครงการ * เอกสารรายงาน/สรุปผลการประเมินผล การเปลี่ยนแปลงหลัง –ก่อนการทำ โครงการ /หนังสือเสนอ * แสดงข้อเสนอแนะที่จะใช้ปรับปรุงในปีถัดไป โครงการ สิ่งที่ประเมิน (จากวัตถุประสงค์โครงการ ตัวชี้วัด เครื่องมือ กลุ่มตัวอย่าง/พื้นที่ ระยะเวลา ผู้ประเมิน 1.

27 องค์ 8 การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ
8.1 กระบวนการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ 8.1.1 มีแผนเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงตามปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ 8.1.2 มีการสร้าง และหรือพัฒนาและหรือใช้เครื่องมือสนับสนุนให้เครือข่ายปฐมภูมิทุติยภูมิ ของรพ. 8.1.3 มีการแก้ไขพฤติกรรมเสี่ยงและรายงานผลเป็นลายลักษณ์อักษร 8.1.4 นำผลเฝ้าระวังพฤติกรรมไปใช้ปรับปรุงการดำเนินงาน สุขศึกษา

28 หลักฐานที่ที่ต้องแสดง องค์ 8
1. เครื่องมือการเฝ้าระวัง อาจเป็นการเฝ้าระวังโดยผู้ป่วยและญาติ โดย อสม. หรือ โดย จนท ก็ได้ * แผน/แนวทางการเชื่อมโยงข้อมูลเข้าสู่เฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ (พฤติกรรมอะไร ของใคร ระยะเวลา วิธีการ เครื่องมือ) * สรุป/รายงานผลเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ/หนังสือเสนอ * เอกสารข้อเสนอแนะที่จะนำไปใช้ปรับกิจกรรม ในองค์5 พฤติกรรมเสี่ยง วัตถุประสงค์ เครื่องมือ กลุ่มตัวอย่าง/พื้นที่ ระยะเวลา ผู้เฝ้าระวัง

29 เครื่องมือเฝ้าระวังพฤติกรรมที่ รพ.ใช้บ่อย
เช่น แบบ/เครื่องมือกำหนดจุดในการให้ผู้ป่วยตรวจเท้าด้วยตนเอง แบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร โดยการคำนวณแคลลอรี่ ฯลฯ

30

31 องค์ 9 วิจัยที่เกี่ยวกับสุขศึกษาฯ
9.1 กระบวนการวิจัยฯ 9.1.1 มีการวิจัยสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพที่สอดคล้องกับปัญหาสาธารณสุขหรือเกี่ยวกับกระบวนการดำเนินงานสุขศึกษา ปีละ 1 เรื่อง 9.1.2 มีรายงานผลวิจัยเป็นลายลักษณ์อักษร

32 หลักฐานที่ที่ต้องแสดง องค์ 9
- ขอบเขตวิจัยด้านสุขศึกษา 1. R2R/ case study ฯลฯ 2. วัตถุประสงค์ พฤติกรรมที่สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพในปีปัจจุบัน กลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มเป้าหมายที่รับผิดชอบ พื้นที่ศึกษาเป็นพื้นที่ที่รับผิดชอบ ผู้ดำเนินการวิจัยเป็นบุคลากรในหน่วยงาน ระยะเวลาในการวิจัย ปีปัจจุบัน หรือ ต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา (คือ ปีที่ผ่านมาหากเก็บข้อมูลเสร็จแล้ว อยู่ในขั้นตอนการวิเคราะห์ ถือว่าวิจัยสิ้นสุดแล้ว หากได้รับอนุมัติเมื่อปีที่ผ่านมา และอยู่ระหว่างการเตรียมการวิจัย โดยปีนี้ยังคงมี Intervention ถือว่า เป็นวิจัยที่สามารถนำมาส่งในปีปัจจุบันได้)

33 หลักฐานที่ที่ต้องแสดง องค์ 9
* โครงร่าง พร้อม เครื่องมือเก็บข้อมูล * เอกสารรายงาน/ผลการวิจัย 5 บท

34 องค์ 10 ผลลัพธ์การดำเนินงานฯ
10.1 ผลลัพธ์ด้านผู้รับบริการ ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมสุขภาพในปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจต่อกระบวนการสุขศึกษาตามแผนงาน/โครงการ 10.2 ผลลัพธ์ด้านชุมชน ระดับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดกิจกรรมสุขศึกษา 10.3 ผลลัพธ์ด้านพัฒนาคุณภาพบริการ มีนวัตกรรมหรือผลงานเด่นที่ได้รับรางวัลระดับจังหวัด หรือเขต หรือประเทศ หรือผลงานที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงานด้านสุขศึกษา ปีละ 1 เรื่อง

35 หลักฐานที่ที่ต้องแสดง องค์ 10
1. ตารางการเปรียบเทียบผลของพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลง (นำข้อมูลพฤติกรรมจากในองค์ 3 และ ผลการประเมินในองค์ 7 มาสรุป) 2. แสดงผลร้อยละความพึงพอใจต่อกระบวนการสุขศึกษาตามโครงการ ตารางแสดงการมีส่วนร่วมของชุมชน 4. เอกสารแสดงผลงานเด่นปีละ 1 เรื่อง/ ภาพ หรือ เอกสาร CQI ต่างๆ เช่น การพัฒนาสื่อ / ชิ้นงาน วัสดุเพื่อประกอบกิจกรรมสุขศึกษา เอกสารแนวทางการทำงาน สมุดบันทึกสุขภาพ เครื่องมือเตือนการกินยา ฯลฯ พฤติกรรมเสี่ยง กลุ่มเป้าหมาย ผลก่อน( ร้อยละ) ผลหลัง( ร้อยละ) เพิ่มขึ้น/ลดลง 1. ชุมชน/เครือข่าย ส่วนร่วม ระดับ1 ระดับ2 ระดับ3 ระดับ4 ระดับ5 1.

36 การใช้โปรแกรมประเมินตนเอง

37

38

39

40 เลือกประเมินตนเอง ตามระดับสถานบริการ

41 หน่วยบริการ บันทึกข้อมูล
1.) รหัสหน่วยบริการสุขภาพ 5 หลัก ) Password (ใช้รหัสหน่วยบริการสุขภาพ 5 หลัก) ) เลือกปีงบประมาณที่ต้องการประเมิน ) กดปุ่ม ขอประเมินตนเอง

42 ตรวจสอบความถูกต้องของชื่อสถานบริการ ก่อนทำแบบประเมิน

43 โปรดอ่าน * เงื่อนไขการประเมินตนเอง (ตัวสีแดง)ให้เข้าใจ

44 เข้าสู่กระบวนการประเมินฯ ตามองค์ประกอบที่ 1-10
คลิกเลือกบันทึกให้ ครบทุกเกณฑ์ ใส่หลักฐานหรือ ข้อมูลยืนยัน กดปุ่ม บันทึก ด้วยทุกครั้ง เสร็จสิ้นการประเมินตามตัวชี้วัดในแต่ละองค์ประกอบ

45 สั่งพิมพ์หลักฐานการบันทึกข้อมูล
เลือก ส่งแบบประเมินตนเอง ยืนยันการส่งแบบประเมิน สั่งพิมพ์หลักฐานการบันทึกข้อมูล เพื่อเก็บเป็นหลักฐาน ระบบจะแสดง ผลการประเมินตนเอง

46 ตัวอย่างการแสดง ผลการประเมินตนเอง

47 ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ฯ ที่ผ่านการประมวลผลโดยระบบอัตโนมัติของโปรแกรมหลังเสร็จสิ้นการบันทึกข้อมูล

48 แบบสรุปผลการประเมินภาพรวม แสดงระดับการประเมินของสถานบริการสุขภาพว่าอยู่ในระดับใด

49 ตัวอย่างการนำเสนอผลการประเมินตนเอง
จำนวน ผ่าน ไม่ผ่าน 41 เกณฑ์ ร้อยละ

50 ตัวอย่างการนำเสนอผลการประเมินตนเอง
ระบุเกณฑ์ที่ไม่ผ่าน แนวทางปรับปรุง องค์ที่ 1 เกณฑ์ เกณฑ์.....

51 Question ?

52 Thank You !


ดาวน์โหลด ppt มาตรฐานงานสุขศึกษา &โปรแกรมประเมิน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google