งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คอมพิวเตอร์ (Computer)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คอมพิวเตอร์ (Computer)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คอมพิวเตอร์ (Computer)
คอมพิวเตอร์ คืออะไร(What is computer?)

2 คอมพิวเตอร์ คืออะไร คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ทำงานภายใต้การควบคุมของชุดคำสั่ง หรือโปรแกรม(program) ซึ่งเก็บอยู่ใน หน่วยความจำ(memory)

3 คอมพิวเตอร์ คืออะไร สามารถรับข้อมูลเข้า(input)จากภายนอก นำมาประมวลผล(process) ตามลำดับ ขั้นตอนที่ได้เตรียมไว้แล้ว และส่งผลลัพธ์ (output)ออกไปให้กับผู้ใช้ หรือ สามารถ เก็บผลลัพธ์ไว้ใช้ต่อไปได้

4 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Computer components)
แบ่งตามหน้าที่การทำงานได้ 5 หน่วย ดังนี้

5 หน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยรับเข้า หน่วยส่งออก หน่วยเก็บข้อมูล

6 หน่วยรับเข้า (Input Unit)
หน้าที่ : รับข้อมูลจากภายนอก เข้ามายัง หน่วยความจำ เพื่อรอการประมวลผลจาก หน่วยประมวลผลกลางต่อไป ข้อมูลเข้าคือ ข้อมูลหรือชุดคำสั่ง ซึ่งอาจ อยู่ในรูปของตัวเลข ข้อความ รูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น

7 ตัวอย่างอุปกรณ์ของหน่วยรับเข้า
ได้แก่

8 คีย์บอร์ด(keyboard)

9 คีย์บอร์ด(keyboard) โดยทั่วไปจะมีแป้นพิมพ์จำนวน 105 ปุ่ม
มีการพัฒนาเป็นคีย์บอร์ดไร้สาย โดยจะมี ตัวรับสัญญาณเชื่อมกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งใช้ สัญญาณวิทยุ หรือสัญญาณอินฟาเรดในการ ส่งสัญญาณ

10 เมาส์(mouse) แป้นสัมผัส(touchpad)

11 ไมโครโฟน(microphone)

12 สแกนเนอร์(Scanner) หรือเครื่องตรวจกราด

13 สแกนเนอร์(Scanner) หรือเครื่องตรวจกราด
ทำงานคล้ายเครื่องถ่ายเอกสาร โดยส่งแสงไป ยังเอกสาร เพื่อให้ตัวรับแสงอ่านเอกสารให้อยู่ ในรูปของรูปภาพดิจิทัล สามารถรับข้อมูลเป็นภาพและข้อความที่อยู่ บนสิ่งพิมพ์ได้

14 เครื่องอ่านบาร์โค้ด(Barcode Reader)
หลักการทำงานคล้ายเครื่องสแกนเนอร์ โดยส่ง แสงเลเซอร์ไปยังบาร์โค้ด แล้วมีตัวอย่างการ สะท้อนของแสงที่ตัวอุปกรณ์ จากนั้นจะแปลง ค่าที่อ่านได้เป็นตัวเลขที่คอมพิวเตอร์จะนำไป ประมวลผลต่อไป

15 เครื่องอ่านบาร์โค้ด(Barcode Reader)

16 จอสัมผัส(Touch Screen)
เป็นจอคอมพิวเตอร์ที่ไวต่อการสัมผัสที่พื้นผิว ของจอ ปัจจุบันใช้กันมากในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ขนาดเล็ก เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ กล้องดิจิทัล พีดีเอ

17 จอสัมผัส(Touch Screen)

18 อุปกรณ์รับเข้าสำหรับเกม
ถูกออกแบบมาเฉพาะให้สามารถรับข้อมูลเข้า ได้โดยอาศัยการเคลื่อนไหวของนิ้ว ข้อมือ หรือ เท้า เช่น จอยสติก(joystick) เกมแพด (gamepad) พวงมาลัยและคันเหยียบ(wheel and pedal)

19 อุปกรณ์รับเข้าสำหรับเกม

20 กล้องดิจิทัล(Digital Camera)

21 กล้องวิดีโอ (Camcorder)

22 เว็บแคม (WebCam)

23 เครื่องอ่านพิกัด(Digitizer)

24 หน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยรับเข้า หน่วยส่งออก หน่วยเก็บข้อมูล

25 หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)
เรียกอีกอย่างว่า ซีพียู (Central Processing Unit : CPU) หน้าที่ แปลและทำตามคำสั่งพื้นฐานของ คอมพิวเตอร์

26 หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)

27 หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)
ซีพียูของเครื่องคอมพิวเตอร์มักอยู่ในชิป เพียงตัวเดียว ควบคุมการทำงานทั้งหมด ของคอมพิวเตอร์ บางครั้งเรียกซีพียูว่า ไมโครโพรเซสเซอร์(microprocessor)

28 หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)
ความเร็วของคอมพิวเตอร์ขึ้นอยู่กับ ความเร็วในการประมวลผลของซีพียูเป็น สำคัญ โดย วัดความเร็วของซีพียูเป็น จำนวนรอบของเครื่อง หรือจำนวนคำสั่งที่ ทำได้ใน 1 วินาที

29 หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)
เช่น ซีพียูเพนเทียมมีความเร็ว 3 กิกะ เฮิรตซ์ แปลว่า สามารถทำงานได้ 3 พันล้านคำสั่งใน 1 วินาที

30 หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)
ขนาด ไบต์ 1 ไบต์ byte 8 บิต 1 กิโลไบต์ kB 1,024 103 1 เมกะไบต์ MB 1,024*1,024 1,048,576 106 1 กิกะไบต์ GB 1,024*1,024*1,024 1,073,741,824 109 1 เทระไบต์ TB 1,024*1,024*1,024*1,024 1,099,511,627,776 1012 1 เพตะไบต์ PB 1,024*1,024*1,024*1,024*1,024 1,125,899,906,842,624 1015 ไบต์ (อังกฤษ: byte) หมายถึง เนื้อที่ที่คอมพิวเตอร์จัดไว้สำหรับเก็บข้อมูล 1 ตัวอักษรตามรหัสแอสกี (เช่น A, B, C, ก, ข, ค, ง ฯลฯ) หรือจำนวนเต็ม 1 จำนวน (-128 ถึง 127 เมื่อคิดเครื่องหมาย หรือ 0 ถึง 255 เมื่อไม่คิดเครื่องหมาย) 1 ไบต์จะประกอบด้วยข้อมูลเลขฐานสองจำนวน 8 บิต และใช้เป็นหน่วยวัดขนาดของหน่วยความจำหรือสื่อบันทึกข้อมูลว่า สามารถเก็บข้อมูลได้กี่ตัวอักษร เวิร์ด (word) เป็นคำที่ใช้เรียกจำนวนบิตที่มากขึ้น แต่ก็ไม่มีขนาดเป็นมาตรฐานตายตัว บนเครื่องคอมพิวเตอร์สถาปัตยกรรม IA-32 จำนวน 16 บิตจะเรียกว่าเวิร์ด ในขณะที่ 32 บิตเรียกว่า ดับเบิลเวิร์ด (double word) หรือ dword ในขณะที่สถาปัตยกรรมอื่น ๆ หนึ่งเวิร์ดมีค่าเท่ากับ 32 บิต, 64 บิต หรือค่าอื่น ๆ ซึ่งหน่วยประมวลผลกลาง จะทำการประมวลผลกับเวิร์ดได้สะดวกที่สุด ในวิทยาการคอมพิวเตอร์ หน่วยวัดที่ใช้กันนั้น นิยมวัดเป็นกิโลไบต์ (Kilobyte) เมกะไบต์ (Megabyte) จิกะไบต์ (Gigabyte) และเทระไบต์ (Terabyte) ซึ่งแต่ละหน่วยวัดมีค่าตัวคูณต่างกัน 1,024 หรือ 210 หน่วย แต่มนุษย์จะประมาณค่าตัวคูณไว้ที่ 1,000 หน่วยเพื่อความสะดวกในการคำนวณ หน่วยวัดแต่ละหน่วยสามารถสรุปได้ดังนี้ 1 กิโลไบต์ = 1,024 ไบต์ 1 เมกะไบต์ = 1,048,576 ไบต์ หรือ 1,024 กิโลไบต์ 1 จิกะไบต์ = 1,073,741,824 ไบต์ หรือ 1,024 เมกะไบต์ 1 เทระไบต์ = 1,099,511,627,776 ไบต์ หรือ 1,024 จิกะไบต์ นอกจากนี้ยังมี เพตะไบต์ (Petabyte) เอกซะไบต์ (Exabyte) เซตตะไบต์ (Zettabyte) และยอตตะไบต์ (Yottabyte) ซึ่งมีค่าตัวคูณ 1,024 หน่วยถัดจากเทระไบต์เป็นต้นไป แต่ยังไม่มีสื่อบันทึกข้อมูลใดสามารถเก็บข้อมูลได้มากขนาดนั้นในปัจจุบัน ปัจจุบันนี้ เพื่อลดความสับสนระหว่างค่าตัวคูณ 1,024 (210) หน่วยและ 1,000 (103) หน่วย ทาง SI จึงได้มีหน่วยสำหรับฐาน 2 แยกออกมา เช่นจากกิโลไบต์ เป็น กิบิไบต์แทน ที่มา:

31 หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)
แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ หน่วยควบคุม(Control Unit) หน่วยคำนวณและตรรกะ(Arithmetic logic unit)

32 หน่วยควบคุม(Control Unit)
ทำหน้าที่ควบคุมลำดับการทำงาน ภายใน หน่วยประมวลผลกลาง ระหว่างที่ทำการ ประมวลผล หน่วยควบคุมจะแปลคำสั่งของแต่ ละโปรแกรม และสั่งการส่วนต่างๆให้ทำตาม คำสั่งนั้น

33 หน่วยคำนวณและตรรกะ(Arithmetic logic unit)
ทำหน้าที่ ประมวลผลทางคณิตศาสตร์และ ตรรกะ กับข้อมูลที่เก็บอยู่ในลักษณะของ สัญญาณดิจิทัล เช่น การบวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบข้อมูล

34 Tip ชิปของซีพียูในปัจจุบัน มีความเร็วสูง เนื่องจากมีซีพียูหลายตัวช่วยกันทำงาน เช่น Dual-core processor มีซีพียู 2 ตัว Quad-core processor มีซีพียู 4 ตัว

35 หน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยรับเข้า หน่วยส่งออก หน่วยเก็บข้อมูล

36 หน่วยความจำ (Memory Unit)
ทำหน้าที่เก็บข้อมูลและโปรแกรมคำสั่ง เพื่อรอการประมวลผล แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ หน่วยความจำที่ไม่สามารถลบเลือนได้ หน่วยความจำที่สามารถลบเลือนได้

37 หน่วยความจำที่ไม่สามารถลบเลือนได้
(non-volatile memory) สามารถเก็บข้อมูลไว้ได้ แม้ไม่มีกระแสไฟฟ้า หล่อเลี้ยง รอม(Read-Only Memory :ROM) เป็น หน่วยความจำที่ไม่สามารถลบเลือนได้ ข้อมูลที่อยู่ในรอม จะไม่สามารถแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงได้ ที่เรียกว่า ไบออส (Basic Input/Output System:BIOS)

38 หน่วยความจำที่ไม่สามารถลบเลือนได้
ผู้ผลิตไบออส ต้องบรรจุข้อมูลหรือลงโปรแกรมใน รอมตั้งแต่กระบวนการผลิต รอม มีหน้าที่เก็บโปรแกรมสำคัญที่ใช้ในการ เริ่มต้นทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์

39 ROM

40 หน่วยความจำที่สามารถลบเลือนได้
(volatile memory) ไม่สามารถเก็บข้อมูลไว้ได้ ถ้าไม่มี กระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยง แรม(Random Access Memory :RAM) เป็น หน่วยความจำที่สามารถลบเลือนได้ ถ้าไม่มีกระแสไฟฟ้า ข้อมูลและคำสั่งก็จะหายไป

41 หน่วยความจำที่สามารถลบเลือนได้
แรม จึงทำหน้าที่เป็นหน่วยความจำที่เก็บ ข้อมูลสำหรับใช้งานทั่วไปในขณะที่ คอมพิวเตอร์เปิดทำงานเท่านั้น

42 RAM

43 หน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยรับเข้า หน่วยส่งออก หน่วยเก็บข้อมูล

44 หน่วยส่งออก (Output Unit)
คือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของ คอมพิวเตอร์ อาจอยู่ในรูปของ ข้อความ รูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว

45 จอภาพ (Monitor) มี 2 ประเภทคือ ซีอาร์ที(CRT) แอลซีดี(LCD)

46 ใช้หลอดรังสีอิเล็กตรอน เช่นเดียวกับ จอโทรทัศน์ในการทำให้เกิดภาพ
ซีอาร์ที(CRT) CRT (Cathode Ray Tube) ใช้หลอดรังสีอิเล็กตรอน เช่นเดียวกับ จอโทรทัศน์ในการทำให้เกิดภาพ

47 ซีอาร์ที(CRT)

48 ซีอาร์ที(CRT)

49 LCD(Liquid Crystal Display) เล็กและบางลง กินไฟน้อยกว่า CRT
ใช้หลักการปรับเปลี่ยนโมเลกุลของผลึก เหลวเพื่อปิดกั้นเมื่อมีสนามไฟฟ้า เหนี่ยวนำ

50 แอลซีดี(LCD)

51 เครื่องพิมพ์(Printer)
แบ่งเป็น เครื่องพิมพ์แบบจุด(Dot matrix printer) เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก(Inkjet printer) เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์(Laser printer)

52 เครื่องพิมพ์แบบจุด(Dot matrix printer)

53 เครื่องพิมพ์แบบจุด(Dot matrix printer)

54 เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก(Inkjet printer)

55 เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก(Inkjet printer)
Printer ขนาดใหญ่ ใช้พิมพ์ป้ายขนาดใหญ่ เช่น ป้ายไวนิล

56 เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์(Laser printer)

57 เราควรเลือกใช้เครื่องพิมพ์อย่างไรให้เหมาะสม
เครื่องพิมพ์แบบจุด(Dot matrix printer) ราคาถูก กระดาษขนาดใหญ่ เอกสารที่มี copy หรือต้องทำสำเนา เช่น บิล หรือใบเสร็จ เสียงดัง พิมพ์เป็นสีดำ เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก(Inkjet printer) ประหยัด สีสันสวยงาม ละลายน้ำ แต่อาจใช้กระดาษกันน้ำได้ พิมพ์เอกสารทั่วไปที่ต้องการความสวยงาม เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์(Laser printer) ราคาสูง ภาพคมชัดสูง มีทั้งสี และขาวดำ พิมพ์เร็ว สีติดทนไม่ละลายน้ำ พิมพ์เอกสารที่เป็นทางการ เช่น วิทยานิพนธ์ หรืองานที่ต้องการความคมชัดสูง

58 หน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยรับเข้า หน่วยส่งออก หน่วยเก็บข้อมูล

59 หน่วยเก็บข้อมูล (Storage Unit)
ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมไว้เพื่อใช้ งานในอนาคต ข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ใช้งานจะอยู่ในแรม เมื่อปิดเครื่อง ข้อมูลก็จะหายไป

60 หน่วยเก็บข้อมูล (Storage Unit)
จึงมีการเก็บข้อมูลไว้ในหน่วยเก็บข้อมูล เมื่อต้องการใช้ข้อมูล หรือโปรแกรมเดิม ซีพียูก็จะอ่านข้อมูลจากหน่วยเก็บข้อมูล เข้าสู่หน่วยความจำที่ลบเลือนได้ หรือแรม เพื่อประมวลผล

61 หน่วยเก็บข้อมูล (Storage Unit)
หน่วยเก็บข้อมูลมีหลายประเภท เช่น ฮาร์ดดิสก์(Harddisk) แผ่นซีดี(CD-R) แผ่นดีวีดี(DVD-R) แผ่นดิสก์เก็ต(Diskette) และหน่วยความจำแบบแฟลช

62 ฮาร์ดดิสก์(Harddisk)
เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่ประกอบด้วยแผ่น บันทึกแบบแข็ง เคลือบด้วยสารแม่เหล็กที่ผิว ทั้ง 2 ด้าน จำนวนหลายแผ่นเรียงซ้อนกัน มีหัวอ่านหนึ่งหัวต่อหนึ่งด้านของแผ่นบันทึก ข้อมูล ที่ยึดติดอยู่บนแขนที่เลื่อนเข้าออกได้ ตั้งแต่ด้านนอกจนถึงด้านในสุดของแผ่น

63 ฮาร์ดดิสก์(Harddisk)
อุปกรณ์ทั้งหมดนั้นจะถูกบรรจุในกล่องที่ปิด สนิท เพื่อป้องกันฝุ่นและการกระทบกระเทือน

64 ฮาร์ดดิสก์(Harddisk)

65 เกร็ดน่ารู้ ปัจจุบันมีฮาร์ดดิสก์แบบพกพา หรือที่เรียกว่า External Harddisk มีความจุสูงแต่มีความ บอบบาง มีความเสี่ยงที่ข้อมูลจะสูญหายได้ ง่าย ควรใช้อย่างระมัดระวัง ไม่ควรให้ตกพื้น และควรมีการสำรองข้อมูลไว้เสมอ

66 ฮาร์ดดิสก์แบบพกพา(External Harddisk)

67 แผ่นซีดี(Compact Disc : CD)
เป็นแผ่นพลาสติก เคลือบด้วยสารสะท้อนแสง เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 นิ้ว อ่านและเขียนข้อมูลด้วยแสงเลเซอร์ส่องและ สะท้อนกลับ ราคาถูก เก็บข้อมูลประมาณ 750 เมกะไบต์ อายุใช้งานนาน

68 แผ่นซีดี(Compact Disc : CD)
มีหลายประเภทแบ่งตามการเขียนและอ่าน ดังนี้

69 แผ่นซีดี(Compact Disc : CD)
1. ซีดีรอม(Compact Disc-Read Only Memory : CD-ROM) บันทึกข้อมูลได้ครั้ง เดียวโดยถูกบันทึกจากโรงงาน

70 แผ่นซีดี(Compact Disc : CD)
2. ซีดีอาร์ (Compact Disc-Recordable : CD-R) สามารถบันทึกโดยเครื่องซีดีอาร์ไดร์ฟ (CD-RW drive) บันทึกแล้วไม่สามารถลบหรือ บันทึกทับได้ แต่ถ้าพื้นที่เหลือสามารถบันทึก เพิ่มได้

71 CD-R

72 แผ่นซีดี(Compact Disc : CD)
3. ซีดีอาร์ดับเบิ้ลยู (Compact Disc- Rewritable : CD-RW) สามารถลบและบันทึก ซ้ำได้หลายครั้ง แต่ราคาจะสูงกว่า CD-R

73 CD-RW

74 แผ่นดีวีดี(Digital Versatile Disc : DVD)
พัฒนามาจากซีดี แต่มีความจุมากกว่า ดีวีดีรอม(DVD-ROM) อ่านได้อย่างเดียว ผลิต มาจากโรงงาน จุสูงถึง 4.7 กิกะไบต์และ 8.5 กิกะไบต์ ดีวีดีอาร์(DVD-R)สามารถบันทึกข้อมูลได้ด้วย ตนเอง

75 แผ่นดีวีดี(Digital Versatile Disc : DVD)
ดีวีดีอาร์ดับเบิ้ลยู(DVD-RW)สามารถบันทึก และลบได้หลายครั้ง ซึ่งเหมือนกับใน CD

76 แผ่นบลูเรย์(Blu-ray Disc-ROM: BD-ROM)
มีการพัฒนาให้สามารถบันทึกข้อมูลได้สองชั้น รวมกันแล้วได้สูงถึงแผ่นละ 50 กิกะไบต์

77 เกร็ดน่ารู้ การรักษาแผ่นซีดีและดีวีดี ควรสะอาดและ ปราศจากรอยขีดข่วน การหยิบควรใช้นิ้วโป้ง สอดเข้ารูตรงกลางแผ่น แล้วใช้นิ้วชี้จับที่ขอบ แผ่น

78 หน่วยความจำแบบแฟลช หน่วยความจำแบบแฟลช(Flash Memory) เป็น อุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่ได้รับความนิยมมาก เพราะมี ขนาดเล็ก ความจุสูง ราคาถูก อาจแบ่งเป็น แผ่นหน่วยความจำแฟลช อุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบแฟลชที่เชื่อมต่อผ่านยูเอสบี

79 หน่วยความจำแบบแฟลช แผ่นหน่วยความจำแฟลช เช่น กล้องดิจิทัล โทรศัพท์เคลื่อนที่ เช่น SD,microSD,xD Picture Card,Memory Card

80 หน่วยความจำแบบแฟลช อุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบแฟลชที่เชื่อมต่อผ่านยูเอสบี หรือแฮนดีไดร์ฟ(Handy Drive) หรือแฟลชไดร์ฟ(Flash Drive) หรือทรัมไดร์ฟ(Thrum Drive)

81 แผ่นบันทึก(Diskette)
หรือฟลอปปี้ดิสก์(Floppy disk) ขนาด 3.5 นิ้ว จุด เมกะไบต์ ทำจากแผ่นพลาสติกบางฉาบผิวด้วยสาร แม่เหล็ก ปัจจุบันไม่นิยมใช้แล้ว


ดาวน์โหลด ppt คอมพิวเตอร์ (Computer)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google