ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSander Fredriksen ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
Energy Consumption and CO2 Emission of Rice Production in THAILAND
School of Renewable Energy (SCORE), Maejo University, ChIANG mai, Thailand Energy Consumption and CO2 Emission of Rice Production in THAILAND Tanate Chaichana*, Natthawud Dussadee* * Assit.Prof.Dr., School of Renewable Energy, Maejo university, (Thailand) Table 1 Energy Equivalent Energy Type Energy Equivalent Labor 1.96 MJ/hour Animal ( kg) 10.1 MJ/ hour Fuel diesel gasoline electricity 43.3 39.7 14.4 MJ/liter MJ/kW-h Fertilizer N P (P2O5) K (K2O) manure 76 14 10 0.303 MJ/kg Chemical 120 Rice seed 0.674 MJ/Bath Pumping (4 – 6 hp.) 13.59 MJ/Rai Walking tractor (15 – 24 hp.) 70.31 Driving tractor (80 – 110 hp.) 337.6 Harvesting machinery (100 hp.) (185 – 215 hp.) 423.4 709 ABSTRACT Rice production process is both an energy consumer and producer. It was requesting various types of energy. There are four usually steps for rice production, soil preparation process, activation process, cultural practice process and harvesting process. Many type of production factors are requite such as working time, force, fertilizer, engine, fuel, and seed. The objective of this study was to evaluate the energy consumptions and CO2 emission in rice production process of Thailand. The result shows that the suitable size of walking tractor to soil preparation was 10.0 – 11.5 hp. It required minimum energy consumption. The method in harvesting process has an important effect to total energy consumption and CO2 emission. Rice production process of Thailand was required energy consumption 36.2 – 72.4 kgOE/Rai/season and emitted – kg CO2/Rai/season to environment. Table 2 CO2 Conversion factor The energy consumption was analyzed from average production factor, energy used or energy equivalent was analyzed by Lift Cycle Assessment method (LCA) and the shadow energy in agricultural engine. Suppose that the energy for produced fertilizer and chemical is electricity. The average direct CO2 emission by humans is g CO2/minute. Energy consumption of rice production is show in table 4 The average energy consumption per season was minimum at 1,527.4 MJ/Rai and maximum at 3,057.9 MJ/Rai. It is depending on the method in cultivation process and harvesting process (see Fig 1). More than 75% of rice production areas were used broadcasting method and harvest by truck machine. So, estimation CO2 emission was studied in 6 case studies (Table 3) Fig 2 is shown energy consumption in kgOE (kilogram Oil Equivalent) term and CO2 emission in kgCO2 unit. Both reference in Thai’s unit of area in Rai (=1,600 m2). The result shown that case 6 and 3 was requiting maximum value of energy consumption and cause a lot of CO2. Case 6 and 3 used a lot of fossil fuel for agricultural machinery. Rice production process was requite 36.2 – 72.4 kgOE/Rai of energy and generated – kg CO2/Rai to environment. Table 4 Energy consumption Fuel type electricity gasoline diesel LPG tCO2/TOE 7.02 3.16 wet season (MJ/Rai) dry season (MJ/Rai) Soil preparation process labor 7.57 8.96 diesel 143.54 114.47 machinery 210.93 Cultivation process T. B. 53.81 1.86 75.03 3.52 seed 40.03 157.5 37.2 148.36 Cultural practice process 24.6 19.6 Gasoline 189.5 10.7 Diesel 288.5 245.9 Fertilizer 953.0 655.2 Chemical 43.4 10.9 167.8 83.9 Harvesting process M1 M2 M3 54.67 44.35 3.24 54.7 - 103.36 157.48 423.41 708.96 Production factors were changed to an equivalent value of energy consumption per production area (MJ/Rai) by using energy equivalent value (table 1). In this study was interested the CO2 emission from fuel. Table 2 show the equivalent value was used to estimate CO2 emission and GJ=1 TOE (tone oil equivalent). Process Method Fig 1 Rice production process and method to determine the production factor Soil preparation process 3 times of plough Cultivation process Method 1 Broadcasting (B) Method 2 Transplantation (T) Cultural practice Water control Fertilization Chemical used Harvesting Method 1 Reap and thresh by human (M1) Method 2 Reap by human and thresh by thresh machine (M2) Method 3 Reap and thresh by machine (M3) Fig 2 CO2 emission ant energy consumption for rice production in Thailand Table 3 case study Case study Cultivation method Harvesting Case 1 Broadcasting method 1 Case 2 method 2 Case 3 method 3 Case 4 Transplantation Case 5 Case 6 ACKNOWLEDGMENT I gratefully acknowledge to Energy research center Meajo University and establishment program of agricultural engineering department, Chiang Mai University for support of laboratory, equipment and research fund. Special thank go to Thai’s farmer who support the data.
2
คาร์บอนฟุตพริ้นท์ (Carbon Footprint)
School of Renewable Energy (SCORE), Maejo University, ChIANG mai, Thailand คาร์บอนฟุตพริ้นท์ (Carbon Footprint) มาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี บทความวิชาการ โดย ผศ.ดร.ธเนศ ไชยชนะ ปัจจุบันการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทั้งจากการพัฒนาและการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม ภาคการเกษตรกรรม การขนส่ง และอีกสาเหตุสำคัญของการเพิ่มขึ้นของก๊าซเรือนกระจกคือการตัดไม้ทำลายป่า รวมทั้งการทำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในรูปแบบอื่นๆ ซึ่งสาเหตุต่างๆ เหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ จากผลกระทบดังกล่าวทำให้ประเทศต่างๆ ทั่วโลกตื่นตัวในการดำเนินการเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมถึงการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ (Carbon Footprint: CF.) และการส่งเสริมให้ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ทำการติดฉลากคาร์บอนเพื่อบ่งบอกถึงข้อมูลปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาจากกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์หรือบริการต่างๆ อันจะนำไปสู่การกำหนดแนวทางการบริหารจัดการเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก อีกทั้งในปัจจุบันได้มีการนำเรื่องนี้มาเป็นปัจจัยในการพิจารณาจัดชื้อสินค้าและบริการต่างๆ มากขึ้น เปรียบเหมือนมาตรการอีกประการหนึ่งนอกจากมาตรการทางด้านภาษีที่ถูกนำมาใช้ในตลาดการค้าระหว่างประเทศ คาร์บอนฟุตพริ้นท์ (Carbon footprint: CF.) “รอยเท้า หรือฟุตพริ้นท์ (Footprint)” คือการวัดปริมาณและการอธิบายการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติโดยมนุษย์ อธิบายกิจกรรมของมนุษย์ว่าสามารถกำหนดชนิดของภาระและผลกระทบต่อความยั่งยืนของโลก ทั้งนี้ในความหมายของความยั่งยืนของโลกจะต้องทำการพิจารณาภาพรวมในสามมิติประกอบกัน คือ มิติการป้องกันสิ่งแวดล้อม มิติความเจริญทางเศรษฐกิจและมิติทางด้านสังคม ฟุตพริ้นท์จึงเป็นเครื่องมือหนึ่งในการพิจารณาความยั่งยืนของโลก โดยนำเสนอในแง่ของมิติด้านสิ่งแวดล้อม จะสังเกตเห็นว่ารอยเท้ามักจะถูกวัดในหน่วยของพื้นที่ อย่างไรก็ตามข้อมูลที่แสดงในหน่วยพื้นที่แสดงความแปรปรวนและข้อผิดพลาดเกี่ยวกับผลที่เป็นไปได้สูง การแปลงเป็นพื้นที่จะต้องอยู่บนพื้นฐานของความหลากหลายของสมมติฐานที่แตกต่างกันและจะเพิ่มขึ้นของความไม่แน่นอนและข้อผิดพลาดที่เกี่ยวข้องกับการประมาณการ ก๊าซเรือนกระจก อายุในชั้นบรรยากาศ (ปี) ศักยภาพในการทำ ให้เกิดภาวะโลกร้อน (เท่าของคาร์บอนไดออกไซด์) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 1 มีเทน (CH4) 9 - 15 23 ไนตรัสออกไซด์ (N2O) 120 296 CFC-12 100 10,600 เตตระฟลูออโรมีเทน 50,000 5,700 ภาษีคาร์บอน (Carbon Tax) ภาษีคาร์บอนหรือภาษีที่เก็บจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจัดเป็นภาษีสิ่งแวดล้อมประเภทที่สะท้อนต้นทุนที่สังคมจะต้องแบกรับผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเนื่องมาจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศ หรือที่เรียกว่าต้นทุนคาร์บอนที่เกิดแก่สังคม (Social Cost of Carbon: SCC) ซึ่งเป็นเครื่องมือเศรษฐศาสตร์ที่ใช้ในการกำหนดราคาโดยอัตราภาษีคาร์บอนจะต้องไม่ต่ำกว่าค่า SCC เพื่อป้องกันมิให้สังคมต้องแบกรับภาระความเสียหาย ปัจจุบันมีการใช้มาตรการภาษีคาร์บอนในหลายประเทศของยุโรป เช่น ฟินแลนด์ สวีเดน เดนมาร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ อิตาลี สหราชอาณาจักร สโลวีเนีย และล่าสุดออสเตรเลีย แถลงว่าจะมีการเก็บภาษีคาร์บอน ตัวการปัญหาโลกร้อนในอัตราตายตัวตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคมปี ค.ศ โดยเริ่มต้นที่ 23 ดอลลาร์ออสเตรเลียต่อ 1 ตันคาร์บอนไดออกไซด์ ในช่วง 3 ปีแรก Thai สำหรับประเทศไทย ในฐานะผู้รับจ้างผลิตและผู้ส่งออกสินค้าจึงได้รับผลกระทบจากมาตรการคาร์บอนฟุตพริ้นท์อย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ เนื่องจากเริ่มมีการเรียกร้องให้สินค้าที่นำเข้าจากประเทศไทยต้องติดเครื่องหมายคาร์บอนฟุตพริ้นท์ด้วย โดยประเทศไทยเริ่มมีการดำเนินกิจกรรมด้านคาร์บอนฟุตพริ้นท์ใน 2 รูปแบบ คือ การวิจัยเพื่อพัฒนาการวิเคราะห์คาร์บอนฟุตพริ้นท์ และการออกฉลากคาร์บอนซึ่งหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบดูแลคือองค์การบริหารก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) โดยมีผู้เชี่ยวชาญจากศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) และสถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนทำหน้าที่ให้คำปรึกษาการประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกแก่ภาคอุตสาหกรรม ซึ่งมีการดำเนินโครงการนำร่องเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ มีโรงงานนำร่องได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของสินค้าและผลิตภัณฑ์จำนวน 25 แห่ง และในเดือนเมษายน พ.ศ มีผลิตภัณฑ์นำร่องจำนวน 22 ผลิตภัณฑ์ ที่ได้รับฉลากคาร์บอน ปัจจุบันมีบริษัทและผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการอนุมัติฉลากคาร์บอนของผลิตภัณฑ์ ณ วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ มีทั้งหมด 487 ผลิตภัณฑ์ จาก 120 บริษัท
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.