งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรอบการเชื่อมโยงและบูรณาการแผนพัฒนาท้องถิ่นในระดับพื้นที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรอบการเชื่อมโยงและบูรณาการแผนพัฒนาท้องถิ่นในระดับพื้นที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรอบการเชื่อมโยงและบูรณาการแผนพัฒนาท้องถิ่นในระดับพื้นที่
สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสีปี ส่วนแผนพัฒนาท้องถิ่น กองพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น สำหรับ องค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร

2 Local development path
Supply Purchase Stakeholders Good governance Budget Plan 2

3 Top Down Bottom-UP THAILAND 4.0 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด
กับยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 12 Top Down Bottom-UP THAILAND 4.0 ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด ประวัติศาสตร์ บทเรียน คุณค่าทางสังคม ยุทธศาสตร์จังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาของ อปท.ในเขตจังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนา อปท. เป้าประสงค์ กลยุทธ์ แผนงาน ผลผลิต/โครงการ ผลผลิต โครงการ 3

4 8 7 6 3 5 4 1 2 แผนพัฒนาจังหวัด / แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด
หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท /ว 2070 ลงวันที่ 19 เมษายน 2560 หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่วนที่สุด ที่ มท /ว 1002 ลงวันที่ 19 พฤษภาคม 2560 8 กบจ. (ผวจ.) ก.ค. ก.ย. 2560 7 แนวทางการประสานแผนพัฒนาในพื้นที่ สำหรับแผนชุมชน/หมู่บ้านประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 อบจ. เจ้าภาพหลัก แผนพัฒนาจังหวัด / แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด แผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัด 6 อบจ. เจ้าภาพหลัก คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับจังหวัด กบอ. เจ้าภาพหลัก (นอ.) มิ.ย. 2560 3 5 อบจ. เจ้าภาพหลัก แผนพัฒนาอำเภอ คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับอำเภอ 1 พช. / เจ้าภาพหลัก 2 ศอช.ต. ประมวลผล 3 อปท. หน่วยสนับสนุน มี.ค – พ.ค. 2560 1. ปค. (กม.) เจ้าภาพหลัก 2. อปท. หน่วยสนับสนุน ม.ค. – ก.พ 2560 4 แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี 1 2 ทบทวนแผนชุมชน/แผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชนระดับตำบล อปท. เป็นหน่วยงานหลัก จัดทำเวทีประชาคมท้องถิ่นแบบประชารัฐ (ประชุมประชาคมท้องถิ่นภาพรวม) ส่วนแผนพัฒนาท้องถิ่น กองพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 4

5 การจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
มิติที่ 1 การสร้างสังคมไม่ทนต่อการทุจริต (45 คะแนน) มิติ 2 การบริหารราชการเพื่อป้องกันการทุจริต (65 คะแนน) มิติที่ 3 การส่งเสริมบทบาทและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน (45 คะแนน) มิติที่ 4 การเสริมสร้างและปรับปรุงกลไกในการตรวจสอบการปฏิบัติราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (45 คะแนน) 1. การสร้างจิตสำนึกและความตระหนักแก่บุคลากรทั้งข้าราชการการเมืองฝ่ายบริหารข้าราชการการเมืองฝ่ายสภาท้องถิ่น และฝ่ายประจำขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2. สร้างจิตสำนึกและความตระหนักแก่ประชาชนทุกภาคส่วนในท้องถิ่น 3. การสร้างจิตสำนึกและความตระหนักแก่เด็กและเยาวชน 1. แสดงเจตจำนงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริตของผู้บริหาร 2. มาตรการการใช้ดุลยพินิจและใช้อำหน้าหน้าที่ให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 3. การเชิดชูเกียรติแก่หน่วยงาน/บุคคลในการดำเนินกิจการการประพฤติปฏิบัติตนให้เป็นที่ประจักษ์ 4. มาตรการจัดการในกรณีได้ทราบ หรือรับแจ้ง หรือตรวจสอบพบการทุจริต 1. จัดให้มีและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในช่องทางที่เป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนได้มีส่วนร่วมตรวจสอบการปฏิบัติราชการตามอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ทุกขั้นตอน 2. การรับฟังความคิดเห็นการรับและตอบสนองเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ของประชาชน 3. การส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมบริหารกิจการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. มีการจัดวางระบบและรายงานการควบคุมภายในตามที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกำหนด 2. การสนับสนุนให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมตรวจสอบการปฏิบัติหรือการบริหารราชการตามช่องทางที่สามารถดำเนินการได้ 3. การส่งเสริมบทบาทการตรวจสอบของสภาท้องถิ่น 4. เสริมพลังการมีส่วนร่วมของชุมชน (Community) และบูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อต่อต้านการทุจริต 5

6 ครั้งที่ 1 สามารถประชุมได้ (แต่ไม่น้อยกว่าร้อยละ)
องค์ประชุมประชาคมท้องถิ่นแบบประชารัฐ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (หมู่บ้าน/ชุมชน/อำเภอ) ครั้งที่ 1 สามารถประชุมได้ (แต่ไม่น้อยกว่าร้อยละ) ประชาคมท้องถิ่นระดับหมู่บ้านหรือชุมชน 1 2 3 4 5 100% 60% 20% 10% 5% บันทึกการ ประชุม บันทึกการ ประชุม ชี้แจงเหตุผล ความจำเป็นโดย ละเอียดไว้ใน รายงานการ ประชุม/บันทึก การประชุม ชี้แจงเหตุผลความจำเป็นโดยละเอียด ไว้ในรายงานการประชุมพร้อม รายงานการประชุมให้ผู้กำกับดูแล อปท. ภายใน 3 วัน นับแต่วันที่ ประชุม ครั้งที่ 2 ไม่สามารถประชุมได้ตาม ประชุมโดยไม่ต้องนับองค์ประชุม เมื่อประชุมเสร็จสิ้นให้แจ้งผลการประชุมให้ประชาชนในท้องถิ่นได้ ทราบมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ 6

7 องค์ประชุมประชาคมท้องถิ่นแบบประชารัฐ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ตำบล/ชุมชนตำบล/ชุมชนเมือง/ชุมชนนคร/จังหวัด) ประชาคมท้องถิ่นระดับตำบลหรือชุมชนตำบล ชุมชนเมือง ชุมชนนคร ครั้งที่ 1 สามารถประชุมได้ (แต่ไม่น้อยกว่าร้อยละ) 1 2 3 4 5 100% 60% 20% 10% 3% บันทึกการ ประชุม บันทึกการ ประชุม ชี้แจงเหตุผล ความจำเป็นโดย ละเอียดไว้ใน รายงานการ ประชุม/บันทึก การประชุม ชี้แจงเหตุผลความจำเป็นโดยละเอียด ไว้ในรายงานการประชุมพร้อม รายงานการประชุมให้ผู้กำกับดูแล อปท. ภายใน 3 วัน นับแต่วันที่ ประชุม ครั้งที่ 2 ไม่สามารถประชุมได้ตาม ประชุมโดยไม่ต้องนับองค์ประชุม เมื่อประชุมเสร็จสิ้นให้แจ้งผลการประชุมให้ประชาชนในท้องถิ่นได้ ทราบมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ 7

8 การจำแนกแผนงานตามรูปแบบงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่วนมาก ที่ มท /ว เรื่อง รูปแบบและการจำแนกประเภทรายรับ-รายจ่าย งบประมาณรายจ่ายประจำปี ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ลงวันที่ 16 กรกฎาคม 2556 แผนงานบริหารงานทั่วไป ด้านบริหารทั่วไป แผนงานการรักษาความสงบภายใน แผนงานการศึกษา แผนงานสาธารณสุข แผนงานสังคมสงเคราะห์ ด้านบริการชุมชนและสังคม แผนงานเคหะและชุมชน แผนงานสร้างความเข้มแข็งของชุมชน แผนงานการศาสนา วัฒนธรรม และนันทนาการ แผนงานอุตสาหกรรมและการโยธา ด้านการเศรษฐกิจ แผนงานการเกษตร แผนงานการพาณิชย์ ด้านการดำเนินงานอื่น แผนงานงบกลาง 8

9 แบบ ยท. ในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี
แบบ ยท.0 1 3.3 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดกับยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โครงสร้างความเขื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ แบบ ยท.02 3.4 แผนผังยุทธศาสตร์ (strategic map) แบบ ยท.03 3.5 รายละเอียดแผนยุทธศาสตร์ 9

10 แบบ ผ. ในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี
สำหรับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการ แบบ ผ. 01 สำหรับ อุดหนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรประชาชน องค์กรการกุศล แบบ ผ. 02 สำหรับ ประสานโครงการพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัด แบบ ผ. 03 สำหรับ ประสานโครงการพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ของคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น ระดับอำเภอ แบบ ผ. 03/1 สำหรับ ประสานโครงการพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัด แบบ ผ. 04 สำหรับ ประสานโครงการพัฒนาจังหวัด แบบ ผ. 05 สำหรับ โครงการพัฒนาที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการโดยไม่ใช้งบประมาณ แบบ ผ. 06 บัญชีสรุปโครงการพัฒนา แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี แบบ ผ. 07 บัญชีครุภัณฑ์แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี แบบ ผ. 08 10

11 การเพิ่มเติมและการเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561-2564)
ข้อ 4 ในระเบียบนี้ “แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี” หมายความว่า แผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่กำหนดวิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และกลยุทธ์ โดยสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด แผนพัฒนาอำเภอ แผนพัฒนาตำบล แผนพัฒนาหมู่บ้านหรือแผนชุมชน อันมีลักษณะเป็นการกำหนดรายละเอียดแผนงาน โครงการพัฒนา รายละเอียดที่ปรากฏในโครงการพัฒนา ที่จัดทำขึ้นสำหรับปีงบประมาณแต่ละปี ซึ่งมีความต่อเนื่องและเป็นแผนก้าวหน้า และให้หมายความรวมถึงการเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี 11

12 ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี
ความหมายจาก พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน เปลี่ยนแปลง [-แปลง] ก. ทำให้ลักษณะต่างไป. ความหมายจาก พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย อ.เปลื้อง ณ นคร เปลี่ยนแปลง ก. ทำให้ผิดไปจากเดิม. ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เปลี่ยนแปลง (-แปฺลง) ก.ทำให้ลักษณะต่างไป. เปลี่ยนไป, แปรไป. ความหมายจาก พจนานุกรมแปล ไทย-อังกฤษ แตกต่าง,แตกตัวเปลี่ยนสภาพ,การจำแนก เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา,เปลี่ยนแปลงได้,ลักษณะที่เปลี่ยนแปลง,พลวัต เปลี่ยนแปลงขึ้นหรือลงในช่วงเวลาแต่ละวัน แต่ละปี แต่ละห้วงเวลา ของสิ่งหนึ่งตกไปเป็นของอีกคนหนึ่ง การทำให้วัตถุประสงค์และสาระสำคัญของแผนพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ทำให้ลักษณะ ปริมาณ คุณภาพเปลี่ยน หรือเปลี่ยนแปลงสถานที่ดำเนินการ 12

13 รายละเอียดในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี
กรณีตัวอย่าง 1 : องค์การบริหารส่วนตำบลหนองข่า อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ลำดับ รายละเอียดในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (ปัจจุบัน) (เปลี่ยนแปลงใหม่) เหตุผล การเปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตร์ แผนงาน 1 โครงการก่อสร้างถนน คสล. หมู่ที่ 1 จากบ้านนายดำ ใจดี ถึงศาลากลางหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 ขนาดความยาว 850 เมตร กว้าง 5 เมตร หนา 0.15 เมตร ปรากฏในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี พ.ศ. 2562 ปรากฏในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี พ.ศ. 2561 เพื่อนำไปจัดทำงบประมาณรายจ่าย ปี 2561 ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสังคมและความมั่นคงทางเศรษฐกิจ แผนงานอุตสาหกรรมและการโยธา 13

14 กรณีตัวอย่าง 2 : องค์การบริหารส่วนตำบล......
ลำดับ รายละเอียดในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (ปัจจุบัน) (เปลี่ยนแปลงใหม่) เหตุผล การเปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตร์ แผนงาน 2 โครงการลงลูกรัง หมู่ที่ 7 ซอยประชาราษฎร์ขนาดความยาว 452 เมตร กว้าง 5 เมตร หนาเฉลี่ย 0.10 เมตร งบประมาณในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ตั้งไว้ 100,000 บาท  ปรากฏในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี พ.ศ. 2564 โครงการลงลูกรัง หมู่ที่ 7 ซอยประชาราษฎร์ ขนาดความยาว 500 เมตร กว้าง 4.50 เมตร หนาเฉลี่ย 0.10 เมตร งบประมาณในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ตั้งไว้ 150,000 บาท ปรากฏในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี พ.ศ. 2561 1.เพื่อให้สอดคล้องกับความเป็นจริงตามสภาพพื้นที่ 2. เพื่อนำไปจัดทำงบประมาณรายจ่าย ปี 2561 ยุทธศาสตร์ที่ 2 โครงสร้างพื้นฐาน แผนงานเคหะและชุมชน 14

15 กรณีตัวอย่าง 3 : เทศบาลตำบล......... รายละเอียดในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี
ลำดับ รายละเอียดในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (ปัจจุบัน) (เปลี่ยนแปลงใหม่) เหตุผล การเปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตร์ แผนงาน 3 โครงการก่อสร้างถนน คสล. (ทางไปวัดป่าสามัคคี) หมู่ที่ 1 กว้าง 5 เมตร ยาว 200 เมตร หนา 0.15 เมตร งบประมาณในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ตั้งไว้ 500,000 บาท  ปรากฏในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี พ.ศ. 2564 กว้าง 5 เมตร ยาว 198 เมตร หนา 0.15 เมตร งบประมาณในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ตั้งไว้ 520,000 บาท  1.เพื่อให้สอดคล้องกับความเป็นจริงตามสภาพพื้นที่ 2. เพื่อนำไปจัดทำงบประมาณรายจ่าย ปี 2561 ยุทธศาสตร์ที่ 4 โครงสร้างพื้นฐานและการเศรษฐกิจ แผนงานเคหะและชุมชน 15

16 กรณีตัวอย่าง 4 : เทศบาลตำบล....... รายละเอียดในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี
ลำดับ รายละเอียดในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (ปัจจุบัน) (เปลี่ยนแปลงใหม่) เหตุผล การเปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตร์ แผนงาน 4 โครงการขุดลอกคลอง ยายสา หมู่ที่ 4 ยาว 200 เมตร กว้าง 5 เมตร ลึก 1 เมตร ปรากฏในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี พ.ศ. 2563 โครงการขุดลอกคลอง ยายสา หมู่ที่ 4,8 ยาว 210 เมตร กว้าง 5 เมตร ลึก 1 เมตร ปรากฏในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี พ.ศ. 2561 1.เพื่อให้สอดคล้องกับความเป็นจริงตามสภาพพื้นที่ 2. เพื่อนำไปจัดทำงบประมาณรายจ่าย ปี 2561 ยุทธศาสตร์ที่ 4 โครงสร้างพื้นฐานและการเศรษฐกิจ แผนงานการเกษตร 16

17 กรณีตัวอย่าง 5 : เทศบาลตำบล..........
ลำดับ รายละเอียดในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (ปัจจุบัน) (เปลี่ยนแปลงใหม่) เหตุผล การเปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตร์ แผนงาน 5 โครงการก่อสร้างถนน แอสฟัลติกส์คอนกรีต ซอยท่าจีน 2 ขนาดกว้าง 4 เมตร ยาว 100 เมตร หนา 0.15 เมตร หรือมีพื้นที่ไม่น้อยกว่า 400 ตร.ม. งบประมาณในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ตั้งไว้ 212,000 บาท    ปรากฏในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี พ.ศ. 2561 โครงการก่อสร้างถนน แอสฟัลติกส์คอนกรีต ซอยท่าจีน ซอยท่าจีน 1 ขนาดกว้าง 4 เมตร ยาว 120 เมตร หนา 0.15 เมตร หรือมีพื้นที่ไม่น้อยกว่า 480 ตร.ม. งบประมาณในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ตั้งไว้ 254,400 บาท 1.เพื่อให้สอดคล้องกับความเป็นจริงตามสภาพพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลง 2. เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะปริมาณงานกับงบประมาณจริง 3. เพื่อนำไปจัดทำงบประมาณรายจ่าย ปี 2561 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน แผนงานเคหะและชุมชน 17

18 กรณีตัวอย่าง 6 : เทศบาลตำบลลำพญา อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
กรณีตัวอย่าง 6 : เทศบาลตำบลลำพญา อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ลำดับ รายละเอียดในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (ปัจจุบัน) (เปลี่ยนแปลงใหม่) เหตุผล การเปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตร์ แผนงาน 6 โครงการปรับปรุงถนนดินลูกรัง ซอยทุ่งหมาหิว ปรับปรุงถนนดินลูกรังผิวจราจรกว้าง 4.50 เมตร ความยาว 1,000 เมตร หนาเฉลี่ย 0.15 เมตร งบประมาณในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ตั้งไว้ 360,000 บาท ปรากฏในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี พ.ศ. 2561 โครงการก่อสร้างถนน คสล. ซอยทุ่งหมาหิว ก่อสร้างถนน คสล.ผิวจราจรกว้าง 4.50 เมตร หนา 0.15 เมตร งบประมาณในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ตั้งไว้ 2,385,000 บาท 1.เปลี่ยนแปลงจากถนนดินลูกรังเป็นถนน คสล. 2. เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะปริมาณงานกับงบประมาณจริง 3. เพื่อนำไปจัดทำงบประมาณรายจ่าย ปี 2561 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน แผนงานเคหะและชุมชน 18

19 การแก้ไขแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561-2564)
หลักการสำคัญ การแก้ไข หมายความว่า การแก้ไขข้อผิดพลาดใน แผนพัฒนาหรือแผนการดำเนินงานให้ถูกต้องโดยไม่ทำให้วัตถุประสงค์และ สาระสำคัญเดิมเปลี่ยนแปลงไป การแก้ไขแผนพัฒนาเป็นอำนาจของ ผู้บริหารท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้เกณฑ์ราคากลางและคุณลักษณะพื้นฐาน ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ หรือแบบบัญชีราคากลาง งานพัฒนาระบบ ประเภท โปรแกรมประยุกต์ (Application Software Development) หรือบัญชีราคา มาตรฐานครุภัณฑ์ของสำนักงบประมาณหรือราคากลางที่หน่วยงานของรัฐ กำหนดขึ้น เมื่อคุณลักษณะ มาตรฐาน ราคาปรับเปลี่ยนไปให้เป็นอำนาจของ ผู้บริหารท้องถิ่นในการแก้ไขแผนพัฒนาท้องถิ่นให้สอดคล้องกับราคา มาตรฐานที่ปรับเปลี่ยนไปนั้น   19

20 รายละเอียดในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี
กรณีตัวอย่างการแก้ไข ลำดับ รายละเอียดในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (ปัจจุบัน) (แก้ไขใหม่) เหตุผล การแก้ไข ยุทธศาสตร์ แผนงาน 1 โครงการก่อสร้างถนน คสล. หมู่ที่ 11 จากบ้านนายดำ ใจดี ถึงศาลากลางหมู่บ้าน หมู่ที่ 11 ขนาดความยาว 850 เมตร กว้าง 5 เมตร หนา 0.15 เมตร ปรากฏในแผนพัฒนาท้องถิ่น สี่ปี พ.ศ. 2562 โครงการก่อสร้างถนน คสล. หมู่ที่ 1 จากบ้านนายดำ ใจดี ถึงศาลากลางหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 เพื่อให้สอดคล้องกับความเป็นจริง โครงการดำเนินการจริงในหมู่ที่ 1 ไม่ใช่หมู่ที่ 11 ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสังคมและความมั่นคงทางเศรษฐกิจ แผนงานอุตสาหกรรมและการโยธา 20

21 ท่านได้ปฏิบัติหรือไม่
ข้อ 24 ให้ผู้บริหารท้องถิ่นประกาศใช้แผนพัฒนาที่อนุมัติ แล้ว และนำไปปฏิบัติรวมทั้งแจ้งสภาท้องถิ่น คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ องค์การ บริหารส่วนจังหวัด อำเภอ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ ประกาศให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบโดยทั่วกันภายในสิบ ห้าวันนับแต่วันที่ประกาศใช้และปิดประกาศโดยเปิดเผยไม่ น้อยกว่าสามสิบวัน ท่านได้ปฏิบัติหรือไม่ ข้อ 25 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้แผนพัฒนา ท้องถิ่นสี่ปีเป็นกรอบในการจัดทำงบประมาณรายจ่าย ประจำปี งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม และงบประมาณจาก เงินสะสมในช่วงของแผนนั้น รวมทั้งวางแนวทางเพื่อให้มี การปฏิบัติให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามโครงการพัฒนาที่ กำหนดไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี 21

22 งบประมาณและที่ผ่านมา หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก
แผนการดำเนินงาน แบบ ผ.01 ที่ โครงการ วัตถุ ประสงค์ เป้าหมาย (ผลผลิตของโครงการ) งบประมาณและที่ผ่านมา ตัวชี้วัด (KPI) ผลที่คาดว่า จะได้รับ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก 2561 (บาท) 2562 (บาท) 2563 (บาท) 2564 (บาท) 1 ก่อสร้างถนน คสล. หมู่ที่ 1 เพื่อให้ถนนได้มาตรฐาน 1. จากซอยหมาหลง ผ่านถนนกลางหมู่บ้าน ถึงบ้าน นางแมว ใจดี 2. ระยะทางยาว 1,200 เมตร กว้าง 5 เมตร หนา 0.15 เมตร 1,375,000 (60 : 600,000 (59 : 825,000) (58 : 825,000) (57:600,000) 1,375,000 550,000 - 1. ร้อยละของประชาชนเดินทางสะดวก 2. ร้อยละของประชาชนที่พึงพอใจ 3. ร้อยละที่อุบัติเหตุลดลง 4. ร้อยละของพื้นที่ที่น้ำท่วมลดลง 1. ทำให้ประชาชนเดินทางสะดวก 2. ทำให้ลดการเกิดอุบัติเหตุ 3. ทำให้ลดปัญหาน้ำท่วม กองช่าง 22

23 ห้วงระยะเวลาการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
แนวทางการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ ) ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท /ว เรื่อง ซักซ้อมแนวทางการจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ ) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พ.ศ ลงวันที่ 10 ตุลาคม 2559 ห้วงระยะเวลาการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น ต.ค.-ธ.ค. ม.ค.-มี.ค. เม.ย.-มิ.ย. ก.ค.-ก.ย. ตุลาคม ประกาศผลการติดตามและ ประเมินผลแผนพัฒนาให้ ประชาชนในท้องถิ่นทราบในที่ เปิดเผยภายในสิบห้าวัน นับแต่วัน รายงานผลและเสนอความเห็น ดังกล่าวและต้องปิดประกาศไว้เป็น ระยะเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน เมษายน ประกาศผลการติดตามและ ประเมินผลแผนพัฒนาให้ประชาชน ในท้องถิ่นทราบในที่เปิดเผยภายใน สิบห้าวัน นับแต่วันรายงานผลและ เสนอความเห็นดังกล่าวและต้องปิด ประกาศไว้เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า สามสิบวัน 23

24 กระบวนและรูปแบบการติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาสามปี
ตั้งข้อสังเกต/เสนอแนะ/รับทราบ คณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล ผู้บริหารท้องถิ่น สภาท้องถิ่น รายงานผล เสนอ เสนอ ผู้บริหารท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น คณะกรรมการ พัฒนาท้องถิ่น เสนอ เสนอ ประกาศผลการติดตามและประเมินผล แผนพัฒนาให้ประชาชนในท้องถิ่น ทราบในที่เปิดเผยภายในสิบห้าวัน นับ แต่วันรายงานผลและเสนอความเห็น ดังกล่าวและต้องปิดประกาศไว้เป็น ระยะเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน ตั้งข้อสังเกต/เสนอแนะ/รับทราบ ฉ : อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ภายในเดือนธันวาคมของทุกปี ฉ : โดยอย่างน้อยปีละสองครั้ง ภายในเดือนเมษายน และเดือน ตุลาคมของทุกปี 24

25 การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี 2561-2564
ประเมินผลยุทธศาสตร์และประเมินผลโครงการเพื่อความสอดคล้องแผนพัฒนา ท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ ) กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล ระเบียบ วิธีในการติดตามและประเมินผล กำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการติดตามและ ประเมินผล ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantity) ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Quality) การประเมินผลตามแบบที่กำหนดทั้งยุทธศาสตร์และโครงการโดยดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวัน นับแต่วันที่ประกาศใช้งบประมาณรายจ่าย คะแนนรวม 100 คะแนน เกณฑ์ที่ควรได้เพื่อให้เกิดความสอดคล้องและขับเคลื่อนการพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ไม่ควรน้อยกว่าร้อยละ 80 (80 คะแนน) 25

26 ทิศทาง แนวโน้ม กรอบการตรวจของหน่วยตรวจ เช่น สตง. / ป.ป.ช.
1. เปรียบเทียบแผนพัฒนาท้องถิ่นกับงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี แผนพัฒนาท้องถิ่นนำไปสู่การจัดทำงบประมาณรายจ่ายอย่างไร เท่าไหร่ โครงการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นในแผนพัฒนาท้องถิ่นและในงบประมาณรายจ่ายตรงกันหรือไม่ งบประมาณรายจ่ายมีอยู่ในแผนพัฒนาท้องถิ่นหรือไม่ ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จ่ายขาดเงินสะสม อุดหนุนเฉพาะกิจ อื่นๆ 26

27 2. เป้าหมายเป็นไปตามแผนพัฒนาท้องถิ่น
ระบุให้ชัดเจนว่าเป้าหมายคืออะไร ใคร ที่ไหน ขนาด ปริมารณ ฯลฯ เป้าหมายมีความชัดเจนหรือไม่เป้าหมาย มีความชัดเจนนำไปสู่การตั้ง งบประมาณได้ถูกต้องหรือไม่ กลุ่มเป้าหมายได้รับประโยชน์หรือไม่ เป็นประโยชน์ที่เป็นจริงหรือไม่ เป้าหมายสอดคล้องกับงบประมาณหรือ งบประมาณสอดคล้องกับเป้าหมาย หรือไม่ ใครได้ประโยชน์ ราชการได้ประโยชน์อย่างไร ประชาชนได้ประโยชน์ และหรือเสียประโยชน์อย่างไร งบประมาณโครงการพัฒนาจะต้องคำนึงถึง ความประหยัด มีประสิทธิภาพ มีประสิทธิผล ยุติธรรมโปร่งใส 27

28 3. ผลลัพธ์ ประสิทธิผลที่ได้รับของแผนพัฒนาท้องถิ่น
สิ่งที่ได้ ผลของการดำเนินการจริง ได้รับจากโครงการพัฒนาท้องถิ่น คืออะไร เชิงปริมาณ (Quantity) เชิงคุณภาพ (Quality) การกำหนดวัตถุประสงค์ สอดคล้องกับโครงการพัฒนา ท้องถิ่น ผลลัพธ์ ผลที่ได้ต้องวัดได้ทั้ง เชิงปริมาณ (Quantity) เชิงคุณภาพ (Quality) โครงการบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ หรือโครงการสนองตอบความต้องการในเชิงพื้นที่จริงหรือไม่ ในเวลานั้น ขณะนั้น 28

29 4. รายละเอียดของโครงการมีความสมบูรณ์
(1) ชื่อโครงการ (2) หลักการและเหตุผล/ที่มาของโครงการ (3) วัตถุประสงค์ (4) เป้าหมาย/ผลผลิต (5) พื้นที่ดำเนินการ (6) วิธีดำเนินการ (7) ระยะเวลาดำเนินการ (8) งบประมาณดำเนินการ (9) ผู้รับผิดชอบโครงการ (10) ผลลัพธ์ หรือรายละเอียดตามที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด โครงการพัฒนาท้องถิ่นมีรายละเอียดครบถูกต้องสมบูรณ์หรือไม่ หรือแค่เขียนว่าโครงการ ทั้งในส่วนที่ปรากฏในแผนพัฒนาท้องถิ่นและงบประมาณรายจ่าย การจัดทำโครงการเป็นไปตามระเบียบ กฎหมายกำหนดไว้หรือไม่ 29

30 5. ข้อเสนอแนะในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
ใช้การวิเคราะห์ SWOT Analysis/Demand (Demand Analysis)/Global Demand และ Trend ปัจจัยและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการพัฒนา อย่างน้อยต้องประกอบด้วยการวิเคราะห์ศักยภาพด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือใช้ปัจจัยอื่นในการวิเคราะห์ และสงเคราะห์บริบทพื้นที่เพื่อบูรณาการ บุคลากรในองค์กรต้องเป็นนักวางแผน นักจัดทำแผน นักเขียนแผนและขับเคลื่อนแผน ส่งเสริมบทบาทประชาชน องค์กรประชาชน องค์กรภาคประชาสังคมให้มีความรู้ความเข้าใจในการวางแผนเพื่อพัฒนาท้องถิ่น การรู้จุดยืน ที่มั่นหมายอย่างแท้จริงขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เชิงปริมาณ (Quantity) คุณภาพ (Quality) ผลที่ได้จริง ๆ คืออะไร ค่าใช้จ่าย (Cost) เวลา (Time) วัดผลนั้นได้จริงหรือไม่ หรือวัดได้เท่าไหร่ (Key Performance Indicators : KPIs) สวัสดี 30


ดาวน์โหลด ppt กรอบการเชื่อมโยงและบูรณาการแผนพัฒนาท้องถิ่นในระดับพื้นที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google