ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ดร.เกศรี วิวัฒนปฐพี การสร้างเครือข่าย
แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ดร.เกศรี วิวัฒนปฐพี
2
ผู้บริหารสถานศึกษาสามารถสร้างเครือข่าย เพื่อพัฒนาคุณภาพหลังการพัฒนา
วัตถุประสงค์ของการสร้างเครือข่าย ผู้บริหารสถานศึกษาสามารถสร้างเครือข่าย เพื่อพัฒนาคุณภาพหลังการพัฒนา สถานศึกษามีคุณภาพการศึกษาสูงขึ้น
3
แนวคิดที่เกี่ยวข้อง คุณค่าการนำเครือข่ายไปใช้ส่งเสริม การจัดการคุณภาพในสถานศึกษา ให้สนับสนุนเกื้อกูลซึ่งกันและกัน ในบริบทของแต่ละระดับการจัดการศึกษา เครือข่ายกับการพัฒนาคุณภาพ ให้ความสำคัญกับผลการประเมินคุณภาพ ...การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน(Coaching) ...ประเมินผลการพัฒนา นำเสนอเป็นผลงานเด่น สถานศึกษาเข้มแข็ง
4
สถานศึกษาเข้มแข็ง(มาตรฐาน 13 สพฐ)
เครือข่ายกับการจัดการคุณภาพ เพื่อให้สถานศึกษาเข้มแข็ง พัฒนาความเข้มแข็งของการใช้หลักสูตร/การวัดประเมินผลในภาพรวม/การพัฒนากลุ่มสาระการเรียนทุกกลุ่ม ฯลฯ สร้างปัจจัย/จัดระบบ ให้เกิดพลังขับเคลื่อน สถานศึกษาเข้มแข็ง(มาตรฐาน 13 สพฐ) พัฒนาบุคลากรเสริมความเข้มแข็งต่อเจ้าหน้าที่การเงิน พัสดุ ฯลฯ การบริหารวิชาการ O พัฒนาครูและบุคลากรกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆตามความเหมาะสม ฯลฯ D คุณภาพนักเรียน การบริหารงบประมาณ คุณภาพครู/บุคลากร การบริหารบุคคล การบริหารทั่วไป คุณภาพระบบบริหาร PP C
5
มาตรฐานกำกับการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน(มาตรฐานที่ ๑๓ ของ สพฐ.)
ตัวบ่งชี้ที่ 1 มีการบริหารและการจัดการศึกษารองรับการกระจายอำนาจ ตัวบ่งชี้ที่ 2 มีการบริหารเชิงกลยุทธ์และใช้หลักการมีส่วนร่วม ตัวบ่งชี้ที่ 3 มีคณะกรรมการสถานศึกษาร่วมพัฒนาสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 4 มีรูปแบบการบริหารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ตัวบ่งชี้ที่ 5 มีการตรวจสอบและถ่วงดุล ตัวบ่งชี้ที่ 6 มีการใช้ผลการประเมินด้านคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อพัฒนายกระดับคุณภาพ สายการบังคับบัญชาสั้นลง เครือข่ายการมีส่วนร่วมสูงขึ้น
6
เครือข่ายฯ พึงตระหนัก และผูกพัน ต่อกลุ่มต่าง ๆ
บริบทสังคม เครือข่าย บุคคลที่เกี่ยวข้อง องค์กรภายในเครือข่ายฯ เครือข่ายฯ พึงตระหนัก และผูกพัน ต่อกลุ่มต่าง ๆ นโยบาย สพฐ/ศธ. ลักษณะงานการศึกษา องค์กรภายนอก ที่เกี่ยวข้อง เครือข่าย ICT ทักษะความสามารถ
7
ส่งเสริมความร่วมมือ เคารพใน เคารพ กฎ กติกา บทบาท น้ำหนึ่ง และอาวุโส
มารยาท น้ำหนึ่ง ใจเดียว มาตรฐาน งาน องค์กรภายใน เครือข่าย รัก วิชาชีพ เข้าใจ ศักยภาพคน สร้าง ศักดิ์ศรี สถาบัน บรรยากาศ น่าทำงาน โปรงใส เป็นมิตร มีชีวิตชีวา
8
มูลค่า เพิ่ม หุ้นส่วน องค์กรภายนอก เกื้อกูล ที่เกี่ยวข้อง กิจกรรม เป็น
ส่งเสริมความร่วมมือ มูลค่า เพิ่ม เลือก ช่องทาง หุ้นส่วน องค์กรภายนอก ที่เกี่ยวข้อง เกื้อกูล กิจกรรม พบปะ สนทนา เป็น มิตรสัมพันธ์ มีความอิสระ
9
เป็น แบบอย่าง สื่อสารดี สามัคคี ให้โอกาส ปรองดอง ให้อภัย ยุติธรรม
ส่งเสริมความร่วมมือ เป็น แบบอย่าง สื่อสารดี สามัคคี ให้โอกาส เครือข่าย บุคคล ปรองดอง ให้อภัย ยุติธรรม ให้ กำลังใจ ให้เกียรติ
10
ผู้บริการดี ผู้บริหาร สนับสนุน ผู้ใช้ สนใจ พึ่ง ผู้เชี่ยวชาญ
ส่งเสริมความร่วมมือ ผู้บริการดี People ware ผู้บริหาร สนับสนุน ผู้ใช้ สนใจ เครือข่าย ICT พึ่ง ผู้เชี่ยวชาญ Hardware Software
11
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน นำมาสู่หลักคิดสร้างเครือข่ายตลอดแนว
ฝึกฝนเข้มข้น เริ่มต้นชีวิตอิสระ อย่างมั่นใจ ยืนยันเส้นทาง อุดมศึกษา/ อาชีวศึกษาชั้นสูง สำรวจตนเอง มัธยมศึกษาตอนปลาย/ อาชีวศึกษาชั้นต้น พัฒนาการทุกด้าน หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มัธยมศึกษาตอนต้น สร้างเส้นใยสมอง ประถมศึกษา ปฐมวัย
12
แม้ต้องแข่งขันเพื่อยืนระดับนำ แต่ความสำคัญต้องอยู่ที่
การพัฒนาจริยธรรมให้สูง ประเทศไทย แข่งขันคุณภาพกับใคร ในภูมิภาค ญี่ปุ่น ลาว เกาหลี อินโดฯ สิงค์โปร เวียตนาม มาเลเซีย คุณลักษณะที่พึงประสงค์ สมรรถนะ เด็กชั้นยอด แข่งขันชนะในภูมิภาค ใช่คุณภาพหรือไม่? รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ความสามารถในการ สื่อสาร ใช่! ซึ่งต้อง ประสัมพันธ์ยกย่อง ซื่อสัตย์สุจริต ความสามารถในการ คิด มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ ความสามารถในการ แก้ปัญหา ผลประเมินมาตรฐานต่าง ๆ ต้อง ผ่านเกณฑ์เปรียบเทียบด้วยหรือไม่ อยู่อย่างพอเพียง แน่นอนเพราะเป็นคุณภาพคนไทยที่ไม่ควรแตกต่างกัน ความสามารถในการ ใช้ทักษะชีวิต มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย ความสามารถในการ ใช้เทคโนโลยี มีจิตสาธารณะ
13
สภาพปัจจุบัน สภาพอดีต วิเคราะห์ค่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย
นักเรียนศักยภาพสูง นักเรียนศักยภาพสูง นับวันต้องเพิ่มขึ้น ค่าคะแนนเฉลี่ยของผู้เรียน = ? ค่าคะแนนเฉลี่ยของผู้เรียน = ? ขาดโอกาสเรียนรู้ สภาพปัจจุบัน สภาพอดีต สัดส่วนนักเรียนที่ควรดูแลคุณภาพเป็นพิเศษ คือผู้ที่มีคุณภาพต่ำและผู้ขาดโอกาส
14
กรอบภารกิจ เครือข่ายฯเพื่อเสริมหนุนสถานศึกษา
มีแนวทางสร้างสารสนเทศพื้นฐาน เพื่อการพัฒนาคุณภาพ สมรรถนะ คุณลักษณะ ศักยภาพเด่น แนวทางเครือข่ายร่วมสร้าง เพื่อ ห้องเรียนคุณภาพ โรงเรียน เครือข่ายร่วมประเมินความพร้อม ตามมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ กำหนดอนาคต/เฝ้าระวัง/ ป้องกันวิกฤต ครู/นักเรียน หลักสูตร ผู้นำ สื่อ วินัย ครูอาชีพ
15
เปิดเวทีIntensive workshop พึ่งพา ข้อมูล-สารสนเทศ หวังผลได้จริงและเร็ว
ปฏิบัติการ เร่งด่วน โดย กลุ่มเครือข่ายฯ เปิดเวทีIntensive workshop วิเคราะห์ให้ถ่องแท้ พึ่งพา ข้อมูล-สารสนเทศ โถมพลังตรงจุด วิธีการเหมาะควร หวังผลได้จริงและเร็ว โครงการ ประเมิน/ทำนาย เลือกกลุ่มเป้าหมาย
16
เครือข่ายหลักเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา
เวทีจังหวัด การส่งเสริมวิชาการ ม.ปลาย เครือ ข่าย หลัก ตลอด แนว ม.ต้น หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพ... ประถมศึกษา ปฐมวัย เครือข่ายหลักเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา
17
เครือข่ายหลักเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา
ปศ.สพท. ปศ.อำเภอ ปศ.อำเภอ ปศ.อำเภอ ม.ปลาย การส่งเสริมวิชาการ ปศ.สพท. ปศ.อำเภอ ม.ต้น ปศ.อำเภอ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพ... ประถมศึกษา เครือข่าย ปฐมวัย มีแนวทางเช่นเดียวกัน ปฐมวัย เครือข่ายหลักเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา
18
เครือข่ายหลักเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา
ศ.กม. 1 ศ.กม. 2 การส่งเสริมวิชาการ ม.ปลาย ม.ต้น หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เครือข่าย ศน.ม. กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพ... ประถมศึกษา ปฐมวัย 1-4 จังหวัด : 1 ศ.กม. 1 -2 ศกม.: 1 ศน.ม. เครือข่ายหลักเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา
19
เครือข่ายหลักตลอดแนว
เครือข่ายทับซ้อน ...ต่างเสริมแรง...หากผู้บริหารประสานประโยชน์ เครือข่ายเสริม จากทุกภาคส่วน นอกเหนือจาก เครือข่ายหลักตลอดแนว ที่จัดตั้งแล้ว อย่างเป็นทางการ เครือข่ายย่อย (สหเครือข่าย) ในจำนวนสถานศึกษา ที่เหมาะสม มีแม่ข่ายสนับสนุน จัดตั้งขึ้นเอง
20
เครือข่ายหลักเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา
ม.ปลาย เครือข่าย ศน.ม. เครือข่ายวิทย์ ม.ต้น เครือข่ายสถานศึกษาประเภทที่ 1เครือข่ายสถานศึกษาประเภทที่ 2 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เครือข่ายโรงเรียนในฝัน กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพ... ประถมศึกษา เครือข่าย ฯลฯ ปฐมวัย เครือข่ายหลักเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา
21
เครือข่าย : การจัดองค์ประกอบ เพื่อประสานระบบประถม/ปฐมวัย
เครือข่าย : การจัดองค์ประกอบ เพื่อประสานระบบประถม/ปฐมวัย ปว./ปศ.ในจังหวัด องค์ประกอบทีม ปว./ปศ.ในสพท. องค์ประกอบทีม องค์ประกอบทีม ปว./ปศ.ในสพฐ. ปว./ปศ.ในสพท. องค์ประกอบทีม ปว./ปศ.ในสพท.. ปว./ปศ.ฯ ใน อำเภอ ปว./ปศ.ฯ ใน อำเภอ ปว./ปศ.ฯ ใน อำเภอ ปว./ปศ.ฯ ใน อำเภอ ประธาน+เลขา+อื่นๆ ประธาน+เลขา+อื่นๆ ประธาน+เลขา+อื่นๆ ประธาน+เลขา+อื่นๆ ขยายเครือข่ายต่อไปตามวัตถุประสงค์และศักยภาพสถานศึกษา/ผู้นำ นายนคร ตังคะพิภพ
22
เครือข่าย : การจัดองค์ประกอบ เพื่อประสานระบบมัธยมศึกษา
เครือข่าย : การจัดองค์ประกอบ เพื่อประสานระบบมัธยมศึกษา มัธยมฯในกลุ่มจังหวัด องค์ประกอบทีม มัธยมฯในศกม. องค์ประกอบทีม องค์ประกอบทีม มัธยมฯในสพฐ. มัธยมฯในศกม. องค์ประกอบทีม มัธยมฯในศกม. มัธยมฯ ใน จว. มัธยมฯ ใน จว. มัธยมฯ ใน จว. มัธยมฯ ใน จว. ประธาน+เลขา+อื่นๆ ประธาน+เลขา+อื่นๆ ประธาน+เลขา+อื่นๆ ประธาน+เลขา+อื่นๆ ขยายเครือข่ายต่อไปตามวัตถุประสงค์และศักยภาพสถานศึกษา/ผู้นำ นายนคร ตังคะพิภพ
23
เครือข่าย ส่งเสริมประสิทธิภาพ
เครือข่าย : รูปแบบการประสานระบบมัธยมศึกษา+ขยายโอกาส เครือข่าย ส่งเสริมประสิทธิภาพ มัธยม ม.ต้น+ขยายโอกาส ปว./ปศ.ในจังหวัด (ขยายโอกาส) มัธยมฯในกลุ่มจังหวัด มัธยมฯในศกม. มัธยมฯในศกม. ปว./ปศ.ในสพฐ. มัธยมฯในศกม. มัธยมฯในสพฐ. มัธยมฯในศกม. ปว./ปศ.ในสพท.. มัธยมฯในศกม. ปว./ปศ.ฯ ใน อำเภอ มัธยมฯ ใน จว. ปว./ปศ.ฯ ใน อำเภอ มัธยมฯ ใน จว. ปว./ปศ.ฯ ใน อำเภอ มัธยมฯ ใน จว. ปว./ปศ.ฯ ใน อำเภอ มัธยมฯ ใน จว. นายนคร ตังคะพิภพ
24
ร.ร.ประถมศึกษา ใน ๑ อำเภอ มีหลายสหวิทยาเขต
เพื่อประสิทธิภาพเครือข่ายหนุนเสริมซึ่งกันและกัน ของโรงเรียนประถมศึกษาในขนาดที่เหมาะสม ๑ ๒ ฯลฯ ๕ ๔ ๓ แม่ข่าย เครือข่ายย่อย ที่ 1 เครือข่ายย่อย เครือข่ายย่อย ที่ 2 เครือข่ายย่อย ที่ 3 เครือข่ายย่อย ที่ 4 ร.ร.ในโครงการ“พันธะสัญญาพัทยา”กระจายอยู่ใน สหวิทยาเขตเพื่อเป็นแกนหรือ “แม่ข่าย”ให้สมาชิก หรือเสริมสร้าง ร.ร.อื่นเป็นแม่ข่ายเพิ่ม รวมหลาย สพท.เป็นจังหวัด ร.ร.ประถมศึกษา ใน ๑ อำเภอ มีหลายสหวิทยาเขต รวมหลายอำเภอเป็น ๑สพท.
25
ร.ร.มัธยมศึกษา ใน ๑ จังหวัด มีหลายสหวิทยาเขต
เพื่อประสิทธิภาพเครือข่ายหนุนเสริมซึ่งกันและกัน ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในขนาดที่เหมาะสม(๖-๘=?) ๑ ๒ ฯลฯ ๕ ๔ ๓ แม่ข่าย เครือข่ายย่อย ที่ 1 เครือข่ายย่อย เครือข่ายย่อย ที่ 2 เครือข่ายย่อย ที่ 3 เครือข่ายย่อย ที่ 4 ร.ร.ในโครงการ“พันธะสัญญาพัทยา”กระจายอยู่ใน สหวิทยาเขตเพื่อเป็นแกน หรือ “แม่ข่าย”ให้สมาชิก รวมหลาย ศ.กม.เป็นกลุ่มจังหวัด ร.ร.มัธยมศึกษา ใน ๑ จังหวัด มีหลายสหวิทยาเขต รวม ๑-๔ จังหวัดเป็น ๑ ศ.กม.
26
ร.ร.ขยายโอกาส ใน ๑ อำเภอ มีหลายสหวิทยาเขต
เพื่อประสิทธิภาพเครือข่ายหนุนเสริมซึ่งกันและกัน ของโรงเรียนมัธยม(ขยายโอกาส)ในขนาดที่เหมาะสม ๑ ๒ ฯลฯ ๕ ๔ ๓ แม่ข่าย เครือข่ายย่อย ที่ 1 เครือข่ายย่อย เครือข่ายย่อย ที่ 2 เครือข่ายย่อย ที่ 3 เครือข่ายย่อย ที่ 4 ร.ร.ในโครงการ“พันธะสัญญาพัทยา”กระจายอยู่ใน สหวิทยาเขตเพื่อเป็นแกนหรือ “แม่ข่าย”ให้สมาชิก หรือเสริมสร้าง ร.ร.อื่นเป็นแม่ข่ายเพิ่ม (ร.ร.ขยายโอกาส อาจมีบทบาทเครือข่ายประถม อีกทางหนึ่งด้วย) รวมหลาย สพท.เป็นจังหวัด ร.ร.ขยายโอกาส ใน ๑ อำเภอ มีหลายสหวิทยาเขต รวมหลายอำเภอเป็น ๑สพท.
27
กลุ่มเครือข่ายจังหวัด กลุ่มเครือข่ายจังหวัด ศูนย์ประสาน งานการมัธยม
สพฐ. สพท. ในจังหวัด สพท. ในจังหวัด สพท. ในจังหวัด สพท. ในจังหวัด สพท. ในจังหวัด สพท. ในจังหวัด สพท. ในจังหวัด เครือข่าย ศน. กลุ่ม จว. กลุ่มเครือข่ายจังหวัด กลุ่มเครือข่ายจังหวัด ศูนย์ประสาน งานการมัธยม กลุ่ม ส่งเสริม ประสิทธิภาพ องค์กร อื่น ๆ อปท./ เอกชน สำนัก ใน สพฐ ศูนย์พัฒนา กลุ่มสาระฯ ศูนย์พัฒนา กลุ่มสาระฯ ศูนย์พัฒนา กลุ่มสาระฯ ศูนย์พัฒนา กลุ่มสาระฯ แนวทาง ประสาน ศูนย์พัฒนา กลุ่มสาระฯ แนวทาง บริหาร ศูนย์พัฒนา กลุ่มสาระฯ ศูนย์พัฒนา กลุ่มสาระฯ ศูนย์พัฒนา กลุ่มสาระฯ ศูนย์พัฒนา กลุ่มสาระฯ สถานศึกษา
28
สถานศึกษา ศูนย์พัฒนา กลุ่มสาระฯ แต่ละ จว. ศูนย์พัฒนา กลุ่มสาระฯ
สถาบัน/ศูนย์ สนับสนุน แต่ละสาขา ภาครัฐ กรรมการศูนย์ พัฒนาและ ศน. กลุ่มสาระฯ กลุ่ม จว. สถาบัน/ศูนย์ สนับสนุน แต่ละสาขา ระดับภาค ศูนย์พัฒนา กลุ่มสาระฯ แต่ละ จว. สถาบัน/ศูนย์ สนับสนุน ระดับชาติ (ภาคสังคม) ศูนย์พัฒนา แต่ละสาขา ของโครงการ ศูนย์พัฒนา กลุ่มสาระฯ แต่ละ รร. สถาบัน/ศูนย์ สนับสนุน ส่วนจังหวัด (ภาคสังคม) สถานศึกษา ศูนย์สนับสนุน กลุ่มสาระฯ ท้องถิ่น
29
เครือข่าย คิด/ดำเนินการด้วยศักยภาพตน กลุ่มสาระการเรียนรู้
ชีววิทยา วิทย์ เคมี gifted เครือข่าย คิด/ดำเนินการด้วยศักยภาพตน ฟิสิกส์ ประยุกต์ วิทย์ คณิต ธรณี นักเขียน สังคม ระบบนิเวศน์ ศูนย์พัฒนา กลุ่มสาระการเรียนรู้ ไทย สุนทรพจน์ การกีฬา ลูกเสือ สุข/พล ยุว/เนตร สาธาณสุข กิจกรรม ชมรม ศิลปะไทย ฯลฯ ศิลปะ ศิลปะสากล ตปท. อังกฤษ การงาน นาฎศิลป์ ฝรั่งเศส ดนตรี จีน ญี่ปุ่น เกษตร คหกรรม อุตฯ เทคโน
30
มุ่งผลสำเร็จ (Achievement oriented) มุ่งงานเป็นที่ตั้ง (Task oriented)
เครือข่ายหลัก หรือ เครือข่ายย่อย ๆ ล้วนใช้หลักคิดเดียวกัน จัดโอกาส เปิดเวทีเป็นสนามคิดวิเคราะห์และวางแผนพัฒนา ให้กับสมาชิกเครือข่าย ทั้งฝ่ายบริหารสถานศึกษา หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูและบุคลากร เพื่อปรับปรุงตนและปรับปรุงงาน อยู่เสมอ มุ่งผลสำเร็จ (Achievement oriented) มุ่งงานเป็นที่ตั้ง (Task oriented) เป็นแบบอย่างนำการเปลี่ยนแปลงและเกื้อกูลกัน เป็นผู้ออกแบบ (Designer) ผู้สอน (Instructor) ประมวลความสำเร็จของเครือข่าย เพื่อการขยายผลสู่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ และใช้เป็นความรู้และประสบการณ์แลกเปลี่ยนสืบต่อไป จัดทำข้อมูลสารสนเทศ และปรับข้อมูลให้ทันสมัย เป็นปัจจุบัน ประเมินผลเพื่อปรับปรุง คุณภาพผู้เรียน และสถานศึกษา เป็นระยะ ๆ ผู้ฝึก (Coach) ผู้ให้บริการ (Steward) ผู้เป็นครู (Teacher) พี่เลี้ยง (Mentor) ...การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน
31
การศึกษา กับ ความคาดหวัง ช่วยกันชี้ให้เห็นความสำคัญ
ศักยภาพคน ตั้งแต่ก่อนแรกเกิดจึงต้องสร้างแรงขับเคลื่อนด้วยการให้พลังอย่างเหมาะสม ในแต่ละช่วงวัย ช่วยกันชี้ให้เห็นความสำคัญ คุณภาพชีวิต คุณภาพครอบครัว คุณภาพสังคม คุณภาพคนในประเทศ ...คาดหวังว่า เครือข่ายฯจะเป็นอีกทางหนึ่งที่สนับสนุนโรงเรียนให้เกิดการพัฒนาศักยภาพนักเรียนมากยิ่งขึ้น
32
เฝ้าระวังกลไกวิกฤติทางสังคมที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
คุณภาพคนไทย ไม่แตกต่าง เฝ้าระวังกลไกวิกฤติทางสังคมที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา ให้ก้าวทัน ก้าวไกล ระวัง! ไร้ความหมาย ต้องเสริมแรง แข็งขัน
33
กระทรวงศึกษาธิการ สวัสดี สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำนักพัฒนาครูและบุคลากรการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.