ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ระบบการจัดการงบประมาณท้องถิ่น
ดร.เพ่ง บัวหอม ปลัด ทต.บางเสร่
2
ฟังอย่างไร จดลูกเดียว...............................................
ใจเหม่อลอย ง่วงนอน หลับ ไร้ปฏิกิริยา ไม่สนใจ ซุบซิบ
3
ความหมายของการจัดทำงบประมาณ
1. เป็นแผนการใช้เงินในอนาคต 2. เป็นแผนแสดงการใช้ทรัพยากรของกิจกรรม ต่างๆในช่วงเวลาหนึ่ง
4
ความสำคัญของงบประมาณ
1. เป็นเครื่องมือในการบริหารนโยบายทางเศรษฐกิจการคลังของประเทศ 2. เป็นการกำหนดขอบเขตภารกิจของรัฐ 3. เป็นเครื่องมือของรัฐสภา และประชาชน 4. เป็นเครื่องมือของผู้บริหาร
5
ปัญหาของการจัดทำงบประมาณ
ขาดความเชื่อมโยงในการวางแผนทุกระดับ มุ่งเน้นรายการใช้จ่ายมากกว่ามุ่งความสำเร็จของงาน ขาดความเชื่อมโยงระหว่างแผนการปฏิบัติงานกับการจัดสรรงบประมาณ ไม่มีการวางแผนการเงินล่วงหน้า ขาดความครอบคลุมครบถ้วนทุกแหล่งเงิน ขาดความคล่องตัวในการบริหารจัดการด้านงบประมาณ ไม่คำนึงถึงประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินทรัพย์
6
“ กิจกรรมที่เกิดขึ้นจากคนในชุมชนที่มีการ รวมตัวกันเพื่อจัดทำแผนขึ้นมาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาชุมชนหรือท้องถิ่นของตนเอง ให้เป็นไปตามความต้องการและสามารถ แก้ไขปัญหาที่ชุมชนเผชิญอยู่ร่วมกัน ” แผนชุมชน
7
กิจกรรมที่ดำเนินการเองได้
การนำแผนชุมชนไปสู่การปฏิบัติ - จัดลำดับว่าเรื่องใดควรทำก่อนหลัง - จัดประเภทของแผนงานออกเป็น 3 ประเภท กิจกรรมที่ดำเนินการเองได้ ดำเนินการเอง กิจกรรมที่ร่วมกันดำเนินการ ชุมชน+หน่วยงานภายนอก ขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก เช่น อปท. กิจกรรมที่ดำเนินการเองไม่ได้
8
นโยบายผู้บริหารท้องถิ่น
มุ่งเน้นการพัฒนา ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านการเมืองและการบริหาร ด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
9
องค์กรในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น องค์กรในการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับอำเภอ คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับจังหวัด
10
คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น (ไม่น้อยกว่า 16 คน)
ภาค อปท. 7-9 คน (ผู้บริหารท้องถิ่น, รองนายกฯ ทุกคน, ส.อปท. 3, ปลัด อปท.) ภาคราชการ ไม่น้อยกว่า 3 คน (ผู้บริหารท้องถิ่นแต่งตั้ง) ภาคประชาชน 6-9 คน (ประชาคมเลือกกันเอง 3-6, ผู้ทรงคุณวุฒิที่ผู้บริหารคัดเลือก 3)
11
คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (ไม่น้อยกว่า 6 คน)
ภาค อปท. ไม่น้อยกว่า 3 คน ภาคประชาชน 3 คน (ประชาคมเลือกกันเอง)
12
คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับอำเภอ
ผู้บริหารท้องถิ่นที่ได้รับการคัดเลือก ประธานกรรมการ ผู้บริหารท้องถิ่นในเขตอำเภอทุกคน ส.อบจ. ในเขตอำเภอทุกคน ท้องถิ่นอำเภอ ปลัด อปท. ในเขตอำเภอทุกคน ข้าราชการ อบจ.ที่นายก อบจ. มอบหมาย ปลัด อปท. ที่ประธาน คกก.คัดเลือก กก/เลขานุการ
13
คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับจังหวัด นายก อบจ. ประธานกรรมการ
นายก อบจ ประธานกรรมการ ประธาน คกก.ประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับอำเภอทุกคน เลขานุการ คกก.ประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับอำเภอทุกคน หัวหน้าสำนักงานจังหวัด ท้องถิ่นจังหวัด ปลัด อบจ กก/เลขานุการ หน.กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด สนจ. กก/ผช.เลขานุการ
14
การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น
คกก.ประสานแผนฯ ระดับ จว. ยุทธศาสตร์การพัฒนา ระดับชาติ/กลุ่ม จว/จว. กำหนดกรอบยุทธศาสตร์ การพัฒนาฯ และแจ้งกรอบฯ พิจารณาจาก อำนาจหน้าที่ ภารกิจถ่ายโอน นโยบายผู้บริหารท้องถิ่น ศักยภาพ อปท. แผนชุมชน คกก.พัฒนาท้องถิ่น คกก.สนับสนุนการจัดทำแผนฯ อปท.จัดทำแผนพัฒนา (สอดคล้องกับกรอบยุทธศาสตร์ฯ) คกก.ประสานแผนฯ ระดับอำเภอ พิจารณากลั่นกรอง ว่าแผนพัฒนา ของ อปท. สอดคล้องกับกรอบยุทธศาสตร์ฯ หรือไม่ พร้อมจัดทำบัญชีโครงการที่เกินศักยภาพฯ คกก.ประสานแผนฯ ระดับจังหวัด พิจารณาให้ความเห็น ว่าแผนพัฒนา ของ อปท. สอดคล้องกับกรอบยุทธศาสตร์ฯ หรือไม่ พร้อมจัดทำบัญชีโครงการที่เกินศักยภาพฯ
15
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาของ อปท. ในเขตจังหวัด
แนวทางการพัฒนา หมายเหตุ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน -การสร้างเครือข่ายพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน -การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ -การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่ง ด้านสาธารณูปโภค สาธารณูปการ
16
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาของ อปท. ในเขตจังหวัด
แนวทางการพัฒนา หมายเหตุ ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต -การส่งเสริมการเรียนรู้ -การส่งเสริมสุขภาวะของชุมชน -การสร้างจิตสำนึกในการดำเนินชีวิต ที่ดี -ส่งเสริมพัฒนาอาชีพเสริม
17
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาของ อปท. ในเขตจังหวัด
แนวทางการพัฒนา หมายเหตุ การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี -การสร้างจิตสำนึกและพัฒนาขีดความสามารถบุคลากรภาครัฐ -ระบบตรวจสอบและส่งเสริมการมีส่วนร่วม
18
- แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาของ อปท. พ.ศ (ใช้บังคับ 18 ตุลาคม 2548) ประเภทของแผนพัฒนา - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา - แผนพัฒนาสามปี
19
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (Strategic Plan)
วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดมุ่งหมาย ยุทธศาสตร์+แนวทางการพัฒนา
20
เค้าโครงร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
บทที่ บทนำ บทที่ สภาพทั่วไป+ข้อมูลพื้นฐาน บทที่ การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาท้องถิ่น บทที่ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมาย เพื่อการพัฒนา บทที่ ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา บทที่ การนำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาไปสู่การปฏิบัติ และการติดตามประเมินผล
21
งบประมาณรายจ่ายประจำปี
แผนพัฒนาสามปี แผนงาน/โครงการ งบประมาณรายจ่ายประจำปี
22
ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาสามปี
คกก. พัฒนาท้องถิ่น+ประชาคมท้องถิ่น กำหนดประเด็นหลักการพัฒนาให้สอดคล้องกับ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา จัดทำร่าง คกก. สนับสนุนฯ พิจารณา คกก. พัฒนาท้องถิ่น กรณี อบต. กรณี อบจ. เทศบาล/ เมืองพัทยา สภา อบต.พิจารณาเห็นชอบ ผู้บริหารท้องถิ่นอนุมัติ ประกาศใช้ ผู้บริหารท้องถิ่นอนุมัติ ประกาศใช้
23
แผนการดำเนินงาน (Action Plan)
เป็นแผนที่แสดงถึงรายละเอียด แผนงาน/โครงการพัฒนา และกิจกรรม ที่ดำเนินการจริงทั้งหมดในพื้นที่ ของ อปท. ประจำปีงบประมาณนั้น
24
ที่มาของแผนการดำเนินงาน
งบประมาณรายจ่ายประจำปี โครงการ/กิจกรรมการพัฒนาที่ อปท. ดำเนินการโดยไม่ใช้งบประมาณ (ถ้ามี) โครงการ/กิจกรรมการพัฒนาของหน่วยงานอื่นๆ ที่เข้ามาดำเนินการในพื้นที่ โครงการ/กิจกรรมการพัฒนาอื่นๆ ที่ อปท.พิจารณาเห็นว่าจะเกิดประโยชน์ในการประสานการดำเนินงานในพื้นที่
25
ระยะเวลาในการจัดทำแผนดำเนินงาน
อปท. ทุกแห่งจัดทำแล้วเสร็จภายในเดือนธันวาคม ของปีงบประมาณ (หากคาดว่าไม่แล้วเสร็จ ให้เสนอขอขยายเวลาการจัดทำต่อผู้บริหารท้องถิ่น) ภายใน 30 วันนับแต่วันตั้งงบประมาณเพิ่มเติมหรือได้รับแจ้งแผนงาน/โครงการเพิ่มเติมจากหน่วยงานอื่นๆ ที่เข้ามาดำเนินการในพื้นที่
26
ขั้นตอนการจัดทำแผนการดำเนินงาน
รวบรวมแผนงาน/โครงการ จัดทำร่างฯ คกก. สนับสนุนฯ พิจารณา คกก. พัฒนาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น ประกาศใช้
27
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
เจ้าหน้าที่งบประมาณ - ตรวจสอบ - วิเคราะห์ - จัดทำงบประมาณ หน่วยงานต่าง ๆ ประมาณการรายรับ - รายจ่าย หน่วยงานคลัง - รายงานการคลัง - สถิติ นำเสนอต่อสภา (ภายในวันที่ 15 สิงหาคม) ผู้บริหารท้องถิ่น -พิจารณาอนุมัติ ให้ตั้งงบประมาณ สภาท้องถิ่น - ให้ความเห็นชอบ ประกาศโดยเปิดเผย ให้ประชาชนทราบ นายก อปท. ลงนาม ผู้ว่าราชการจังหวัด/นายอำเภอ - พิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบ
28
ปฏิทินงบประมาณ ก.พ. มี.ค. 15 มี.ค. 15 เม.ย. 15 พ.ค. 30 พ.ค.
คณะผู้บริหาร – ปลัด หน่วยงานต่างๆ ส่วนแผนและงบประมาณ ส่วนการคลัง ปลัด 1. การจัดเตรียมงบประมาณ - การทบทวนแผนงาน - ทบทวนผลการดำเนินงาน - จัดทำร่างแผนพัฒนาประจำปี และ กำหนดนโยบายและแนวทางงบประมาณ - ประมาณการรายจ่าย - เสนอร่างแผนพัฒนาประจำปี และ ประมาณการรายรับ - พิจารณาวิเคราะห์ขั้นต้นเสนอคณะ ผู้บริหาร เวลาที่ควรแล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ ขั้นตอน
29
30 ส.ค. (หรือเวลาที่สภาท้องถิ่นอนุมัติให้ขยายเวลา)
ปฏิทินงบประมาณ ( ต่อ ) เวลาที่ควรแล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ ขั้นตอน 30 มิ.ย. ก.ค ภายใน 15 ส.ค. 15 ส.ค. 30 ส.ค. (หรือเวลาที่สภาท้องถิ่นอนุมัติให้ขยายเวลา) ปลัด คณะผู้บริหาร - ปลัดสภาท้องถิ่น สภาท้องถิ่น การจัดเตรียมงบประมาณ ( ต่อ ) - อนุมัติแผนพัฒนาประจำปี และจัดทำ ร่างงบประมาณเสนอคณะผู้บริหาร - เตรียมเอกสารงบประมาณ - คณะผู้บริหารเสนอร่างงบประมาณรายจ่ายต่อสภาท้องถิ่น 2. การอนุมัติงบประมาณ - คณะผู้บริหารนำร่างงบประมาณเสนอ สภาท้องถิ่น - พิจารณาเห็นชอบร่างงบประมาณ
30
ปฏิทินงบประมาณ ( ต่อ ) เวลาที่ควรแล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ ขั้นตอน
ปฏิทินงบประมาณ ( ต่อ ) เวลาที่ควรแล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ ขั้นตอน ภายใน ก.ย. ตลอดปีงบประมาณ ผวจ. ส่วนการคลัง หน่วยงานต่างๆ เจ้าหน้าที่งบประมาณ สภาท้องถิ่น คณะผู้บริหาร ผวจ. งานจัดทำงบประมาณ ปลัด และ คณะผู้บริหาร ส่วนแผนและงบประมาณ การอนุมัติงบประมาณ ( ต่อ ) - พิจารณาอนุมัติ 3. การบริหารงบประมาณ - การจัดเก็บรายได้ - การใช้จ่าย - การโอน - การแก้ไข - การจัดทำงบประมาณเพิ่มเติม
31
ปฏิทินงบประมาณ ( ต่อ ) เวลาที่ควรแล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ ขั้นตอน
ปฏิทินงบประมาณ ( ต่อ ) เวลาที่ควรแล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ ขั้นตอน ทุก 3 เดือน สิ้นปี ส่วนแผนและงบประมาณ ส่วนการคลัง ปลัด 4. การติดตามผลการดำเนินงาน - การรายงาน - การประเมินผล
32
หลักเกณฑ์การตั้งงบประมาณ
1. งบประมาณรายจ่ายของท้องถิ่นทุกประเภท ทุกรายการ จะต้องตราเป็นเทศบัญญัติ ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี หรืองบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม 2. การตั้งงบประมาณรายจ่ายทุกประเภท ทุกรายการ จะต้องเป็นไปตามอำนาจหน้าที่ของท้องถิ่นตามที่กฎหมายกำหนด 3. รูปแบบงบประมาณเป็นไปตามที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกำหนด
33
กระบวนการงบประมาณ มี 4 ขั้นตอน คือ
กระบวนการงบประมาณ มี 4 ขั้นตอน คือ การอนุมัติ งบประมาณ การบริหารงบประมาณ การติดตามประเมินผล และการรายงาน
34
ระบบงบประมาณแบบใหม่-แบบแผนงาน
วัตถุประสงค์ เพื่อให้การจัดทำแผนงบประมาณสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อเป็นเครื่องมือในการตัดสินใจ และกระจายอำนาจ เพื่อให้เกิดความรับผิดชอบในการใช้จ่ายเงินงบประมาณ
35
เปรียบเทียบระบบงบประมาณเก่า-ใหม่
ระบบเก่า ทรัพยากรนำเข้า ควบคุมการจัดสรรอย่างเข้มงวด เคร่งครัดการเบิกจ่าย ระบบใหม่ ผลผลิตและผลลัพธ์ ความรับผิดชอบ, ความโปร่งใส การมอบและกระจายอำนาจ การจัดทำแผนงบประมาณล่วงหน้า
36
หลักการสำคัญของระบบงบประมาณแผนงาน
ขั้นตอน ใช้นโยบายนำ เน้นประโยชน์ของ ประชาชน จัดลำดับความสำคัญ ความต่อเนื่อง เน้นผลงาน นโยบายรัฐบาล เป้าหมายยุทธศาสตร์ เป้าหมายหน่วยงาน การจัดสรรงบประมาณ
37
การจัดสรรงบประมาณและการเบิกจ่าย
ขั้นตอน หลักการ ยึดหลักธรรมาภิบาลโดย คำนึงถึงความโปร่งใส และตรวจสอบได้ ไม่รวมศูนย์อำนาจ มีความยืดหยุ่นในการ บริหารจัดการ เป้าหมายหน่วยงาน การจัดสรรงบประมาณ เบิกจ่ายตามที่จัดสรรให้
38
การจัดทำและการดำเนินงานโครงการ
39
โครงการ หมายถึง กิจกรรมหรืองานที่เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากร เพื่อหวังผลประโยชน์ตอบแทน โครงการต้องเป็นหน่วยอิสระหน่วยหนึ่ง ที่สามารถทำการวิเคราะห์ วางแผน และนำไปปฏิบัติพร้อมทั้งมีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด
40
ลักษณะของโครงการ • วัตถุประสงค์ของโครงการชัดเจน
• วัตถุประสงค์ของโครงการชัดเจน • ความเป็นอิสระหรือความเป็นเอกเทศ • กิจกรรมการดำเนินงานเป็นขั้นตอนชัดเจนและต่อเนื่อง • มีสถานที่ตั้งของโครงการ • กำหนดระยะเวลาการดำเนินงานชัดเจน
41
ตาราง เปรียบเทียบขั้นตอนการบริหารโครงการ
3 ขั้นตอน 5 ขั้นตอน 8 ขั้นตอน 1. ขั้นการศึกษาและกำหนดโครงการ 1. ขั้นกำหนดหลักการ 1. ขั้นการวางแผนโครงการ 2. ขั้นการจัดเตรียมโครงการ 2. ขั้นกำหนดโครงการ 3. ขั้นการวิเคราะห์และ ประเมินโครงการ 2. ขั้นการดำเนินงานตาม โครงการ 3. ขั้นการประเมินและอนุมัติ โครงการ 4. ขั้นอนุมัติโครงการ 5. ขั้นการปฏิบัติงาน 3. ขั้นการติดตามและ ประเมินผลโครงการ 4. ขั้นการดำเนินงานและติดตาม โครงการ 6. ขั้นติดตามและรายงาน ผลการปฏิบัติงาน 7. ขั้นเปลี่ยนเป็นงานบริหาร ตามปกติ 5. ขั้นการติดตามและประเมิน ผลการประเมินผลโครงการ 8. ขั้นการประเมินผล โครงการ
42
วงจรโครงการ โครง แผน วาง การ I โครง ตาม งาน I I I เนิน การ ดำ ติด การ
การออกแบบ โครงการ อนุมัติโครงการ การเสนอเพื่อ การประเมิน โครงการ การศึกษา ความเป็นไปได้ การดำเนินงาน ตามโครงการ การกำหนด โครงการ การ ดำ ตาม โครง I I เนิน งาน การติดตามโครงการ การติดตามผล โครงการ การควบคุมโครงการ การปรับโครงการ การประเมินผล โครงการ I I I การ ประ เมิน และ ติด ตาม โครง
43
ขอขอบพระพระคุณ อาจารย์ ดร.เพ่ง บัวหอม
Administration Accounting System : Electronic Local Administration Accounting System :
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.