งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประเด็นจากการตรวจราชการ รอบที่ ๑ ศูนย์อนามัย ๑-๑๓ งานอนามัยแม่และเด็ก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประเด็นจากการตรวจราชการ รอบที่ ๑ ศูนย์อนามัย ๑-๑๓ งานอนามัยแม่และเด็ก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประเด็นจากการตรวจราชการ รอบที่ ๑ ศูนย์อนามัย ๑-๑๓ งานอนามัยแม่และเด็ก
ประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การติดตามประเมินผลและปรับแผนการดำเนินงานกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙ วันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมซัมมิท ไพน์เฮิร์สท กอล์ฟคลับ จังหวัดปทุมธานี

2 อัตราส่วนมารดาตาย 29.8 : การเกิดมีชีพแสนคน
ระบบบริการ ชุมชน บุคลากร อัตราส่วนมารดาตาย 29.8 : การเกิดมีชีพแสนคน ธรรมาภิบาล ระบบข้อมูล /เทคโนโลยี งบประมาณ

3 ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา รูปแบบที่ดำเนินการได้ดีในพื้นที่
ระบบบริการ ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา รูปแบบที่ดำเนินการได้ดีในพื้นที่ -ฝากครรภ์ช้า ไม่ครบ 5 ครั้ง -ประเมิน HIGH RISK ไม่ครอบคลุม /จัดการไม่เหมาะสม (สูติแพทย์ และ อายุรแพทย์ ) -มาตรฐานในระบบ fast track (LR) บางแห่งส่งต่อช้า -การประเมินความเสี่ยง และระบบ warning sign (LR, ER) - CPG ไม่ชัดเจน / ไม่ทันสมัย - ขาดคลังเลือด / ถุงตวงเลือด / บริหารจัดการยาที่ช่วยหดรัดตัวของมดลูก (ขนาด,วิธีใช้ยา/วิธีการเก็บรักษา ) - การดูแลหลังคลอดไม่ได้คุณภาพ - การเยี่ยมติดตามหลังคลอดไม่ครอบคลุม จังหวัด มีมาตรการเชิงรุกส่งเสริมการฝากครรภ์เร็ว (DHS/FCT) จัดบริการเชิงรุก mobile clinic โดยจังหวัดและ CUP เป็นพี่เลี้ยงตามบริบทของพื้นที่ - MCHB จังหวัดกำกับติดตาม - รพ. Stop bleed ภายใน 30 นาที (onset to ending time) - รพ.ใช้ถุงตวงเลือดทุกราย เขต - MCHB/Service plan สูติ พัฒนาความพร้อมของ คลังเลือด/ถุงตวงเลือด กรมอนามัย - พัฒนาแบบคัดกรองความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ให้ละเอียด จัดลำดับความสำคัญ -ลำปางโมเดล ระบบจัดการหญิงตั้งครรภ์กลุ่มเสี่ยง: เชื่อมโยงตั้งแต่หน่วยบริการจนถึงชุมชนผ่านศูนย์ COC (01) ทีมหมอครอบครัว/หมออนามัยครอบครัว -อุดรโมเดล การประเมินและจัดการครรภ์เสี่ยง - ปัตตานีโมเดล มีโปรแกรมให้ลงข้อมูลความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ สูติแพทย์จังหวัดวิเคราะห์และบริหารจัดการ

4 ข้อเสนอเพื่อการ พัฒนา รูปแบบที่ดำเนินการได้ ดีในพื้นที่
บุคลากร ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอเพื่อการ พัฒนา รูปแบบที่ดำเนินการได้ ดีในพื้นที่ - รพ.ที่เป็น Node บางแห่งมีสูติแพทย์ไม่พอ/ไม่มี หลายแห่งไม่มีวิสัญญีแพทย์ - MCH board บางจังหวัด สูติแพทย์ไม่ให้ความสำคัญในการมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ทักษะบุคลากร LR ขาดทักษะและประสบการณ์ (น้องใหม่ หรือ รพ.ที่คลอดน้อย) มี CPG แต่ไม่ทำตาม - Service plan สาขาสูติ หมุนเวียน /ทดแทนใน รพ ที่ไม่มี/ไม่เพียงพอ ฝึกซ้อม / ทบทวน OB – crisis อย่างสม่ำเสมอ

5 ระบบข้อมูล/เทคโนโลยี
ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา รูปแบบที่ดำเนินการได้ดีในพื้นที่ - มารดาตายนอกรพ. ไม่ได้วิเคราะห์ตามระบบ CE - ระบบฐานข้อมูลต่างกัน เทียบกันไม่ได้ (รายงาน 43 แฟ้ม, ก2, annual report ) HDC ข้อมูลต่ำกว่าการปฏิบัติงานจริง ฝากครรภ์ที่คลินิก การเก็บข้อมูล early ANC ไม่ได้เอามานับรวมเป็นข้อมูลของพื้นที่ - มีเทคโนโลยี/นวัตกรรม ในบางพื้นที่แต่ขาดการขยายผล - สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก เรียงลำดับเนื้อหาไม่ต่อเนื่อง ใช้งานยาก จังหวัด แม่ตายทุกราย ต้องวิเคราะห์หา root cause ตามระบบ CEและส่งกรมอนามัยภายใน 1 เดือน อสม.ค้นหาหญิงตั้งครรภ์ให้เร็ว ส่งต่อข้อมูลให้ รพ. พัฒนา HDC ให้ตรงตามจริง เขต - กำหนดให้เป็น MMR เป็น KPI ระดับเขต กรมอนามัย พัฒนาแบบรายงาน CE ให้ครอบคลุมทุกมิติของมารดาตาย เชื่อมโยงข้อมูลกับทะเบียนราษฏร์ มหาดไทย พัฒนาสมุดฝากครรภ์

6 งบประมาณ / ธรรมาภิบาล / ส่วนร่วมของชุมชน
ประเด็นตาม ๖ BBs Plus ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา รูปแบบที่ดำเนินการได้ดีในพื้นที่ งบประมาณ  - มีงบประมาณสนับสนุนจากหลายแหล่งพอเพียง ธรรมาภิบาล - ทุกเขตใช้กลไก MCH และเชื่อมโยงกับ service plan แต่พบว่าในระดับจังหวัด service plan ขาดการประสานงานระหว่าง รพ. และ สสจ.  สร้างความเข้มแข็งของ MCHB ทุกระดับ ส่วนร่วมของชุมชน  - การดำเนินงานส่วนใหญ่เป็นเฉพาะภาคสาธารณสุข - ไม่มีระบบเฝ้าระวังในชุมชน  - บูรณาการงานในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับกระทรวงฯ กรม เขต จังหวัด อำเภอ ตำบล อสม. - พัฒนาระบบเฝ้าระวังในชุมชน - พิจารณาใช้ค่ากลางในการบูรณาการงานในระดับตำบล

7 พัฒนาการเด็ก

8 พัฒนาการรวม รายเขตสุขภาพ ปี 2557 สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย (DENVER II)
พัฒนาการเด็ก 0 – 2 ปี พัฒนาการเด็ก 3 – 5 ปี สถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย : นพ.พนิต โล่เสถียรกิจ และ คณะ 28/7/58

9 ข้อมูลเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ตามรายเขตสุขภาพ (ข้อมูลจาก HDC ปี 2559, สตป. ปี 2558, thaichild) เป้าหมายร้อยละ 85 ข้อมูลการรณรงค์ อายุ 42 เดือน ของเขต 2 ได้เกินร้อยละ 100 (ไม่แน่ใจว่าการเก็บข้อมูลเป้นอย่างไร) ส่วน เขต 5 มีข้อมูลที่แตกต่างกันมาก อาจต้องดูศักยภาพเจ้าหน้าที่ ร่วมกับการบันทึกข้อมูลในระบบ 43 แฟ้ม เขต 7 ข้อมูลจาก สตป. ซึ่งเป็นข้อมูลที่สามารถแก้ไขได้โดยจังหวัด (สสจ) อาจต้องดูเป้าหมาย และการบันทึกข้อมูลของผู้รับผิดชอบงาน

10 ความคลอบคลุมการตรวจพัฒนาการ
เป้าหมายร้อยละ 100 ข้อมูลใน HDC และ สตป. แตกต่างกันมากทุกเขต ควรดูระบบการบันทึกข้อมูลในระบบริการ ซึ่งอาจลงข้อมูลไม่ครบถ้วน ทำให้ไม่สามารถส่งออกรายงานไปยัง HDC ได้ครบถ้วน

11 เด็กที่มีพัฒนาการสงสัยว่าล่าช้า 9, 18, 30 และ 42 เดือนได้รับการติดตาม ตามรายเขตสุขภาพ ข้อมูลจาก สตป. ปี 2558 เป้าหมายร้อยละ 100 เขต 2 มีการติดตามได้อย่างดี ควรมีการดูเรื่องระบบในการติดตามว่ามีข้อดีอย่างไรค่ะ

12 เทคโนโลยี/ คู่มือ/สิ่งสนับสนุน
พัฒนาการเด็กสมวัย ระบบบริการ งบประมาณ ธรรมาภิบาล เทคโนโลยี/ คู่มือ/สิ่งสนับสนุน ระบบข้อมูล บุคลากร ส่วนร่วมของชุมชน

13 ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา รูปแบบที่ดำเนินการได้ดี ในพื้นที่
ระบบบริการ ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา รูปแบบที่ดำเนินการได้ดี ในพื้นที่ การบริการ WCC ยังขาดคุณภาพ การประเมินโภชนาการ การตรวจ UA การตรวจสายตา Hct การให้ยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก เขตและจังหวัด ระบุเป็นประเด็นขับเคลื่อน เพื่อการพัฒนาใน service plan และ MCHB ระดับเขต กรมอนามัย การให้ยาน้ำเสริมธาตุเหล็กในเด็กอายุ 6 เดือน – 5 ปี ควรผลักดันการบริหารจัดการในระดับ กระทรวง ให้เป็น vertical program - ขาดรูปแบบที่ชัดเจน ในการดำเนิน กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ ส่วนใหญ่ยังเป็น รูปแบบการให้สุขศึกษารายกลุ่ม/ รายบุคล พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ ในประเด็นพัฒนาการ ควรสอดคล้องกับ เครื่องมือ DSPM WCC แออัด ในรพ.ระดับจังหวัดบางแห่ง จังหวัด บริหารจัดการ ลดแออัดใน WCC ให้สัดส่วนผู้ให้บริการ ต่อผู้รับบริการ ไม่เกิน 1 ต่อ 15

14 ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา
ระบบข้อมูล ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา ขาดการนำข้อมูลภาวะโภชนาการมาใช้ให้ เกิดประโยชน์ กรมอนามัย สร้างความตระหนักให้ผู้ปฏิบัติงาน เห็นความ เชื่อมโยงเรื่องพัฒนาการเด็กกับโภชนาการในหญิงวัย เจริญพันธุ์ &แม่และเด็ก เด็กพัฒนาการล่าช้า ไม่มีการติดตาม ร้อย ละ 30 % ขาดหายไปจากระบบ จังหวัด กำหนดแนวทางในการติดตามเด็กกลุ่มเสี่ยง โดย บูรณาการในบทบาทของ FCT และกลไก DHS กำกับติดตามโดย child project manager FEEDBACK ข้อมูลให้เขตสุขภาพตามรายจังหวัด ขาดการประเมินเครื่องมือ ในระบบ surveillance ซึ่งเป็นส่วนสำคัญสุดในการ เฝ้าระวังโดย ผู้ปกครอง และ ขาดข้อมูล DAIM ในกลุ่มเสี่ยง 2 กลุ่ม สร้างความตระหนัก และ Internal audit ในประเด็น ดังกล่าว

15 ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา
บุคลากร ประเด็นตาม 6 BB Plus ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา บุคลากร - competency บุคคลากรในการคัดกรองพัฒนาการเด็กที่แตกต่างในแต่ละเขต ส่งผลให้ข้อมูลพัฒนาการสมวัยสูงกว่าความเป็นจริง ขาดผลการประเมิน ศักยภาพ บุคลากรในระดับ รพ. และ รพสต. และ ครูพี่เลี้ยงเด็ก จังหวัด เน้นการนิเทศติดตามเพื่อ coaching เทคนิคในการตรวจประเมินพัฒนาการที่ถูกต้อง ในทุกระดับ กรมอนามัย internal audit

16 ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา
เทคโนโลยี/คู่มือ/สิ่งสนับสนุน ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา ระบบการบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม ยังมีข้อมูลที่ขาด ความน่าเชื่อถือ เมื่อเปรียบเทียบ กับข้อมูล สตป. และ thai child ในประเด็น การตรวจติดตาม พัฒนาการล่าช้า กระทรวงฯ/กรมอนามัย พัฒนาโครงสร้าง 43 แฟ้ม ให้ เชื่อมโยงในประเด็นพัฒนาการล่าช้า หลังกระตุ้น และติดตามเด็ก พัฒนาการล่าช้า ในรายบุคคล  ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ยังขาดความเข้าใจในการลง ข้อมูลในโปรแกรม special PP เนื่องจากมีรหัสมาก กระทรวงฯ/กรมอนามัย กรม สุขภาพจิต ชี้แจง สร้างความเข้าใจ ทำคู่มือการลงข้อมูล สนับสนุนพื้นที่

17 ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา
ประเด็นตาม 6 BB Plus ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา เงิน การตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็ก ต้องอาศัย ทักษะของเจ้าหน้าที่ และใช้เวลาในการ ปฏิบัติ งานค่อนข้างมาก แต่วิธีการคิดค่างาน (Full Time Equivalent: FTE) ที่เป็นอยู่ไม่ สัมพันธ์กับภาระงานและการจัดสรร อัตรากำลังในการปฏิบัติงาน เขต ชี้แจง ทำความเข้าใจในการลงโปรแกรม special PP ซึ่งรหัสกิจกรรมการตรวจ พัฒนาการ จะถูกระบุเป็นกลุ่มโรค ธรรมาภิบาล ทุกเขตใช้กลไก MCHB และเชื่อมโยงกับ service plan แต่ยังขาดการเยี่ยมเสริมพลัง อย่างมีส่วนร่วม กำหนดเป็นบทบาทของทีม MCHB SP CPM ส่วนร่วมของชุมชน การดำเนินงานส่วนใหญ่เป็นเฉพาะภาค สาธารณสุข - บูรณาการงานในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ กระทรวงฯ กรม เขต จังหวัด อำเภอ ตำบล - พิจารณาใช้ค่ากลางในการบูรณาการ งานในระดับตำบล

18 ศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา/2559

19 ศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา/2559
สูงดีสมส่วน % เตี้ย นมแม่ % ยาน้ำธาตุเหล็ก % TSH>11.2 >3% BA ไม่เกิน 25: 1000 LBW 9% ผู้เลี้ยงดูไม่ใช่พ่อแม่ 40 % ยาเม็ดไอโอดีน % มารดาวัยรุ่น 48:1000 Anemia19%(26%) ANC 12WKS 43% Understimulation ANC 5ครั้ง 57% ศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา/2559

20


ดาวน์โหลด ppt ประเด็นจากการตรวจราชการ รอบที่ ๑ ศูนย์อนามัย ๑-๑๓ งานอนามัยแม่และเด็ก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google