งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รศ.ดร.มณฑล เลิศคณาวนิชกุล มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รศ.ดร.มณฑล เลิศคณาวนิชกุล มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รศ.ดร.มณฑล เลิศคณาวนิชกุล มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
เจลต้านสิวจากโปรตีนชีวสาร (แบคทีริโอซิน) Anti-Acne Gel Made of Biocompounds (Bacteriocin) รศ.ดร.มณฑล เลิศคณาวนิชกุล มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 1

2 บทนำ สิวเกิดจากความผิดปกติของระบบต่อมไขมันของรูขุมขน ฮอร์โมน
สิวเกิดจากความผิดปกติของระบบต่อมไขมันของรูขุมขน ฮอร์โมน และเชื้อแบคทีเรีย โดยเฉพาะ Propionibacterium (P.) acnes รวมทั้งแบคทีเรียชนิดอื่นที่อาศัยอยู่บนผิวหนัง เช่น Staphylococcus epidermidis และ Staph. aureus ปัจจุบันการรักษาสิวมีการใช้ยาปฏิชีวนะต่าง ๆ ซึ่งจะส่งผลข้างเคียงมากหากรักษาเป็นเวลานานและก่อให้เกิดการดื้อยาของแบคทีเรีย ทำให้การรักษาทำได้ยากขึ้น

3 บทนำ (ต่อ) มีแนวทางเลือกในการรักษาสิวโดยใช้สมุนไพรต่าง ๆ เช่น ชาเขียว
มีแนวทางเลือกในการรักษาสิวโดยใช้สมุนไพรต่าง ๆ เช่น ชาเขียว แห้ม เบญกานี กระเพรา โต๋วต๋ง กุหลาบมอญ มีรายงานการวิจัยยารักษาสิวที่มีส่วนผสมของชีวสารที่ผลิตออกมาจากเชื้อจุลชีพอยู่น้อย จึงมีความสนใจศึกษาฤทธิ์ของชีวสารจากเชื้อจุลชีพในการต้านแบคทีเรียก่อสิว

4 ผลการยืนยันเชื้อ Brev. laterosporus SA14
Brev. laterosporus SA14 (Small) Brev. laterosporus SA14 (Large) cell spore spore cell Gram positive, rod, Laterate spore (canoue shape) Gram positive, rod, Laterate spore (canoue shape) 4

5 ขั้นตอนการศึกษา : 1. การยืนยันกลุ่มเชื้อแบคทีเรีย (ต่อ)
1.2 จุลินทรีย์ดัชนี (Staph. aureus TISTR 517, Staph. epidermidis ATCC 12228, C. albicans TISTR 5779) coagulase test ; positive โคโลนีสีเหลืองบน MSA บ่ม 37๐C, 18-24 hr. เพาะเลี้ยง Staph. aureus, Staph. epidermidis บน NA Staph. aureus coagulase test ; negative โคโลนีสีชมพูบน MSA Staph. epidermidis บ่ม 37๐C, 48 hr. เพาะเลี้ยง C. albicans บน SDA germ tube ; positive chlamydoconidia (โคนิเดียป่อง)

6 ผลการทดสอบฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ดัชนี
Staph. aureus Brev. laterosporus SA14 (Large) Brev. laterosporus SA14 (Small) Staph. epidermidis Brev. laterosporus SA14 (Large) Brev. laterosporus SA14 (Small) 6

7 เมื่อทดสอบ โดยวิธี disk diffusion
ภาพฤทธิ์ต้านแบคทีเรียดัชนีของแผ่นฟิล์มต้านสิวจากโปรตีนชีวสารเทียบกับยา tetracycline เมื่อทดสอบ โดยวิธี disk diffusion D 0.4 E 0.3 Te D 0.4 D 0.3 Te E 0.3 D 0.3 D 0.2 D 0.1 CE CD D 0.2 D 0.1 CE CD D 0.4 D 0.3 E 0.3 Te CE CD D 0.2 D 0.1 ฤทธิ์ต้าน Staph. aureus TISTR 517 (ก), Staph. epidermidis ATCC (ข) และC. albicans TISTR 5779 (ค) ของเจลต้านสิวจากโปรตีนชีวสารที่ความ เข้มข้นต่าง ๆ เทียบกับ disc ยา tetracycline 7 7

8 เอกสารอ้างอิง 1. Tsai TH, Tsai TH, Wu WH, Tseng JT, Tsai PJ. In vitro antimicrobial and anti-inflammatory effects of herbs against Propionibacterium acnes. Food Chem 2009; 119: 2. Chaudhary S. Anti-acne activity of some Indian herbal drugs. IJPPR 2010; 1: 3. Sawarkar H.A., Khadabadi S.S., Mankar D.M., Farooqui I.A., Jagtap N.S. Development and Biological Evaluation of Herbal Anti-Acne Gel. IJPRIF 2010; 2: 4. เบญจมาศ บุญส่งเสริม รัตนาภรณ์ กิมาคม ดรุณี ชั้นวิริยะกุล. การศึกษาฤทธิ์ยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ของชีวสารกึ่งบริสุทธิ์ของแบคทีเรีย Brevibacillus laterosporus SA14 ใน 0.85% NaCl ที่ผสมเอนไซม์อะไมเลสและการนำมาประยุกต์ใช้เป็นน้ำยาบ้วนปากไร้ แอลกอฮอล์ (วท.บ. เทคนิคการแพทย์) นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์; 2551. 5. มณฑล เลิศคณาวนิชกุล กมลทิพย์ เต๊ะซ่วน ปัทมาสน์ ลิ่มวรพันธ์ อัญชลี สงวนพงค์. การเตรียมเจลแต้มสิวที่มีส่วนผสมของชีวสาร จาก Brevibacillus laterosporus LZ1 [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์บัณฑิต เทคนิคการแพทย์]. นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์; 2552. 6. ศรัญญา หนูชุม ศราวุธ ปาลิโภชน์ วาสนา จองต๊ะ. การศึกษาคุณสมบัติเบื้องต้นของชีวสารที่ผลิตโดยแบคทีเรียสายพันธุ์ SA14 (วท.บ. เทคนิคการแพทย์) นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์; 2549. 7. คู่มือการใช้งาน Biorad protein assay. มปท., มปป. 8. ฐิติมา ศรีสุวรรณ ชัชวรรณ ธีญะวุฒิ ฉัตรชัย วัฒนาภิรมย์สกุล ชมจรรย์ อำนวยกิจ. แผ่นฟิล์มต้านเชื้อแบคทีเรียจากสารสกัดเปลือก มังคุด [โครงงานภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์]. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2549. 9. Lorian V. Antibiotics in laboratory medicine. 1996; 4: 10. Mahdavi H., Kermani Z., Faghihi G., Asilian A., Hamishehkar H., Jamshidi A. Preparation and evalution of cosmetic patches containing lactic and glycolic acids. IJDVL 2006; 72:

9

10 องค์ความรู้ / เทคโนโลยี
สูตรและกรรมวิธีผลิต “เจลแต้มสิวจากโปรตีนชีวสารกึ่งบริสุทธิ์ (แบคทีริโอซิน)” ช่วยยับยั้งและต้านการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดสิว งานวิจัยอยู่ในระดับทดสอบเบื้องต้น ต้องการผู้ประกอบการที่มีศักยภาพมาพัฒนาต่อยอดร่วมกัน ก่อนผลิตจำหน่ายเชิงพาณิชย์

11 สถานะการวิจัย (ตัวอย่างผลิตภัณฑ์)
ส่วนประกอบ (ingredients) carbopol ultrez-10, polysorbate 20, triethanolamine, panthenone, Bacteriocin ระดับงานวิจัย ระดับทดสอบเบื้องต้น ระดับต้นแบบ ระดับพร้อมถ่ายทอด 11 11

12 Bacteriocin ดีอย่างไร
Bacteriocin ดีอย่างไร สารโปรตีนจากธรรมชาติ “ทำลายเชื้อก่อสิว ไม่ก่อเกิดสิวดื้อยา” สารปลอดภัย “ไม่ก่อให้เกิดอาการแพ้” ข้อระวัง หากมีผื่นแดงเกิดขึ้นให้หยุดใช้ทันที และรีบปรึกษาแพทย์

13 ข้อมูลเปรียบเทียบกับผลงานวิจัยกับเทคโนโลยีเดิม
ผลิตภัณฑ์จากงานวิจัย ผลิตภัณฑ์เจลแต้มสิวที่มีขายทั่วไป คุณภาพ ไม่มีการเติมกลิ่น สี ไม่ก่อให้เกิดผื่นแพ้สัมผัส มีกลิ่นของสารที่ใช้ผสมเช่นกลิ่นของสมุนไพร หรือกลิ่นของสารเคมี ความสะดวกในการใช้งาน บรรจุอยู่ในหลอดบีบสามารถบีบตัวเจลไปใช้แต้มบริเวณที่เป็นสิวได้ทันที บรรจุในหลอดบีบสามารถบีบตัวเจลไปใช้แต้มบริเวณที่เป็นสิวได้ทันที การเก็บรักษา เก็บรักษาได้ง่าย เนื่องจากตัวแบคเทอริโอซินมีความคงตัวสูง ตัวยาปฏิชีวนะ/สมุนไพรที่เป็นสารออกฤทธิ์สูญเสียคุณสมบัติตามเวลาการเก็บรักษา การเตรียมสารออกฤทธิ์ สามารถเตรียมแบคทีริโอซินจากอาหารเลี้ยงเลี้ยงตัวเชื้อได้ง่ายด้วยการตกตะกอนด้วยแอมโมเนียมซัลเฟตและใช้พื้นที่น้อยในการเลี้ยง ต้องสั่งซื้อยาปฏิชีวนะ/สารเคมี/สารสกัดสมุนไพร ที่มีราคาสูงเพื่อนำมาใช้เป็นส่วนผสมในเจลแต้มสิว ระดับงานวิจัย ระดับทดสอบเบื้องต้น ระดับต้นแบบ ระดับพร้อมถ่ายทอด 13 13

14 THANK YOU FOR YOUR ATTENTION


ดาวน์โหลด ppt รศ.ดร.มณฑล เลิศคณาวนิชกุล มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google