ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยชาญชัย ชินวัตร ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
การสร้างนวัตกรรมการศึกษาและ เทคโนโลยีทาง การศึกษาทางด้านสื่อการสอน กรณีศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง การสร้างนวัตกรรมการศึกษาและ เทคโนโลยีทาง การศึกษาทางด้านสื่อการสอน กรณีศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี นายสัมฤทธิ์ แสงทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง
2
ส่วนใหญ่ให้ความสนใจในการพัฒนาวัสดุ อุปกรณ์มากกว่าการนำเนื้อหาสาระในสื่อเทคโนโลยี และสารสนเทศไปใช้ในการเรียน การสอน และการ พัฒนาผู้สอนให้มีความรู้ความสามารถเพียงพอในการ นำเทคโนโลยีมาใช้ ในการพัฒนาสื่อการเรียนการ สอนและจัดกระบวนการเรียนรู้ ครูและนักเรียนนำ ความรู้ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไปใช้ใน กระบวนการเรียนการสอนและการเรียนรู้ด้วยตนเอง น้อย ประกอบกับสถานศึกษามีจำนวนคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สำหรับสื่อไม่เพียงพอ ล้าสมัย รวมทั้งครู ยังไม่สามารถใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ จัดการเรียนการสอนได้อย่างแท้จริงและผู้เรียนไม่ได้ ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง ประกอบกับ สถานศึกษา บางแห่งยังขาดสื่อที่ทันสมัยและมี คุณภาพ ทำให้ไม่เพียงพอต่อการใช้เพื่อศึกษาค้นคว้า หาความรู้ด้วยตนเองของครูและผู้เรียน ปัญหาการวิจัย
3
1. เพื่อการนำแนวความคิดใหม่ๆ ความคิดที่แตกต่าง ในการสร้างนวัตกรรม การศึกษาและเทคโนโลยีทางการศึกษา ทางด้านสื่อการสอน กรณีศึกษาวิทยาลัย เทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง อำเภอบ้าน โป่ง จังหวัดราชบุรี 2. เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้สอนและ บุคลากรทางการศึกษาที่จะพัฒนาศักยภาพ ในการสร้างนวัตกรรมการศึกษาและ เทคโนโลยีทางการศึกษาทางด้านสื่อการสอน กรณีศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี วัตถุประสงค์การวิจัย
4
กระบวนการเรียนการ สอนที่ส่งเสริมให้เกิด การมีส่วนร่วมของ นักเรียนในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของ นักเรียน - ด้านการเรียนและการสอบ - ด้านความกระตือรือร้นต่อการ เรียนการสอน - ด้านการพัฒนาแนวคิดในการ ประยุกต์ใช้บทเรียนกับสภาพ ปัญหาทางสังคม ภาพกรอบแนวความคิดใน การวิจัย ( ร้อยโทฐนัส มานุวงศ์. 2550: 14) ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม กรอบแนวคิดในการวิจัย
5
ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชายานยนต์ จำนวน 49 คน วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้าน โป่ง กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียน ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชายาน ยนต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ตอนเรียนวิชา คณิตศาสตร์ช่างยนต์ โดยมีจำนวนนักเรียน ทั้งสิ้น 17 คน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร กลุ่ม ตัวอย่าง
6
ผลวิเคราะห์ เลขที่ คะแนนสอบ จำนวน 20 ข้อ คะแนนเต็ม 20 คะแนน คะแนนก่อนเรียน (Pretest) คะแนนหลังเรียน (Posttest) 1511 2917 3714 4612 500 6410 700 8711 9613 10814 11915 1210 1304 1450 1568 16815 17711 ค่าเฉลี่ย 5.189.12 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 3.135.99
7
ผลการประเมินก่อนเรียน ผู้เรียนสอบผ่านได้คะแนนเกิน ครึ่ง จำนวน = 0 คน ผู้เรียนสอบไม่ผ่านได้คะแนนไม่ถึงครึ่ง จำนวน = 14 คน ผู้เรียนไม่มาสอบเพราะขาดเรียน จำนวน = 3 คน ค่าเฉลี่ยของการทำแบบทดสอบก่อนเรียน เท่ากับ 5.18 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการทำแบบทดสอบก่อนเรียน เท่ากับ 3.13 ผลการประเมินหลังเรียน ผู้เรียนสอบผ่านได้คะแนนเกิน ครึ่ง จำนวน = 11 คน ผู้เรียนสอบไม่ผ่านได้คะแนนไม่ถึงครึ่ง จำนวน = 2 คน ผู้เรียนไม่มาสอบเพราะขาดเรียน จำนวน = 4 คน ค่าเฉลี่ยของการทำแบบทดสอบหลังเรียน เท่ากับ 9.12 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการทาแบบทดสอบหลังเรียน เท่ากับ 5.99 ผลวิเคราะห์
9
ผลการประเมินคะแนนจาก แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่าผู้เรียนทำคะแนนสอบได้คะแนนดี ขึ้น แสดงว่าสื่อประสมประกอบการเรียน การสอนในหน่วยเรียนนี้สามารถพัฒนา ประสิทธิภาพทางการเรียนผ่านนวัตกรรม การเรียนรู้ของผู้เรียนได้ดีขึ้น เป็นไป ตามคำนิยามของ คำว่า “ การสร้างนวัตกรรมการศึกษาและ เทคโนโลยีทางการศึกษาทางด้านสื่อ การสอน ” ผลวิเคราะห์
10
นักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้น ปีที่ 3 สาขาวิชายานยนต์ วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโก บ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัด ราชบุรี ตอนเรียนวิชาคณิตศาสตร์ช่างยนต์ โดยมีจำนวนนักเรียน ทั้งสิ้น 17 คน มีคะแนน ดีขึ้น และสามารถทำงานที่ได้รับมอบหมาย เสร็จตามกำหนดเวลา ตลอดจนสามารถนำสื่อ ประสมกลับไปทบทวนภายหลังได้ ดังนั้น ครูผู้สอนจึงควรพัฒนาสื่อประสมเพื่อนำมาใช้ ประกอบการเรียนการสอนให้ครบทุกหน่วย เรียน ข้อเสนอแนะ
11
ผู้วิจัยพบว่าครูและนักเรียนนำความรู้ด้าน เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไปใช้ในกระบวนการ เรียนการสอนและการเรียนรู้ด้วยตนเองน้อย ประกอบกับสถานศึกษามีจำนวนคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์สำหรับสื่อไม่เพียงพอ ล้าสมัย รวมทั้งครู ยังไม่สามารถใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ จัดการเรียนการสอนได้อย่างแท้จริงและผู้เรียน ไม่ได้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้วิจัยจึงได้นำแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่าผู้เรียนทำคะแนนสอบได้คะแนนดีขึ้น แสดง ว่าสื่อประสมประกอบการเรียนการสอนในหน่วย เรียนนี้สามารถพัฒนาประสิทธิภาพทางการเรียน ผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ดีขึ้น ผลกระทบ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.