ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยกุญชนิตา รักไทย ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด มาตรฐานฝีมือแรงงาน วันที่ 9 กันยายน 2558 ณ โรงแรมบางกอกชฎา กรุงเทพฯ
2
2 ภารกิจ กพร. ภารกิจ กพร. แนวทางการดำเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงานแนวทางการดำเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงาน การฝึกอบรมฝีมือแรงงาน การจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานและการทดสอบฝีมือแรงงาน การส่งเสริมสถานประกอบการให้พัฒนาฝีมือแรงงานตาม พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ. ศ. ๒๕๔๕ การฝึกอบรมฝีมือแรงงาน การจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานและการทดสอบฝีมือแรงงาน การส่งเสริมสถานประกอบการให้พัฒนาฝีมือแรงงานตาม พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ. ศ. ๒๕๔๕
3
การปรับบทบาทของกรมพัฒนาฝีมือ แรงงาน 1. การขับเคลื่อนนโยบาย โดยผ่านกระบวนการ คณะกรรมการ กพร. ปช. คณะอนุกรรมการ กพร. ปจ. 2. การกำกับดูแล โดยการใช้กฎหมาย พ. ร. บ. ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน ฉบับที่ 2 ในเรื่อง ประกาศอาชีพควบคุม ประกาศอัตราค่าจ้างตาม มาตรฐานฝีมือแรงงาน 3. การส่งเสริม / ประสานงาน โดยการสร้างเครือข่าย การพัฒนาฝีมือแรงงานร่วมกับหน่วยงานต่างๆ เช่น สถาบันการศึกษา สมาคมองค์กรวิชาชีพ หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน การส่งเสริม การพัฒนาฝีมือแรงงานตาม พ. ร. บ. ส่งเสริมการ พัฒนาฝีมือแรงงาน ในเรื่อง การฝึกอบรม และ การอนุญาตเป็นศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ให้กับหน่วยงานภายนอก 4. ผู้ดำเนินการ โดยดำเนินการฝึกอบรมและ ทดสอบโดยสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค และ ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด
4
ผลกระทบภายนอกต่องานมาตรฐาน ฝีมือแรงงาน คุณวุฒิวิชาชีพ (Professional Qualification Framework) กรอบคุณวุฒิวิชาชีพ ( National Qualification Framwork ) กรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน (ASEAN Qualification Reference Framwork)
5
ปัญหาอุปสรรคของงานมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ปัญหาภายใน ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศงานมาตรฐาน ฝีมือแรงงาน ได้แก่ ข้อมูลมาตรฐานฝีมือ แรงงานและวิธีทดสอบ รายชื่อผู้ทดสอบ ระบบรายงานและติดตามผลการดำเนินงาน เพื่อใช้ในการวิเคราะห์การดำเนินงาน ปัญหาการดำเนินการของหน่วย ปฏิบัติ การดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงานมีกระบวนการที่โปร่งใส ตรวจสอบ ได้ และได้มาตรฐานเหมือนกันทุกแห่ง
6
ระบบประกันคุณภาพมาตรฐานฝีมือ แรงงาน มาตรฐานที่ 1 การจัดทำแผนและเตรียมความ พร้อมการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน มาตรฐานที่ 2 การรับสมัครและแนะนำแนว ทางการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน มาตรฐานที่ 3 การประสานงานผู้ทดสอบ จัดเตรียมความพร้อม และขออนุมัติเพื่อการ ดำเนินการทดสอบฯ มาตรฐานที่ 4 ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงานแห่งชาติ มาตรฐานที่ 5 ตรวจและรายงานผลการทดสอบ มาตรฐานที่ 6 การประกาศผลการทดสอบและ จัดทำหนังสือรับรองผู้ผ่านการทดสอบ มาตรฐานที่ 7 ผู้ผ่านการทดสอบมารับหนังสือ รับรอง / รายงานผลการทดสอบเข้าสู่ระบบข้อมูล สารสนเทศ
7
การเตรียมความพร้อมของระบบคลังข้อสอบ โดยการพิจารณาเลือกสาขาที่มีความพร้อมและ เร่งด่วนในการจัดทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน เช่น 1) ความพร้อมของข้อสอบที่สามารถนำไปลง ในระบบคลังข้อสอบได้ 2) สาขาที่ตลาดมีความต้องการในการทดสอบ จำนวนมาก 3) สาขาที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายบังคับใช้ใน เรื่อง ประกาศอัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ แรงงาน และประกาศอาชีพควบคุม การบริหารคลังข้อสอบและการ ทดสอบด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
8
การดำเนินงานในปี 2558 ดำเนินการทดลองใช้ระบบคลังข้อสอบและ ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์นำร่องใน 5 แห่ง ได้แก่ ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดปทุมธานี ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานกรุงเทพมหานคร ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดนนทบุรี สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 1 สมุทรปราการ
9
สาขาที่มีการจัดทำคลังข้อสอบเข้า ระบบอิเล็กทรอนิกส์ สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร สาขาช่างไฟฟ้าภายนอกอาคาร สาขาช่างไฟฟ้าอุตสาหกรรม สาขาประมวลผลคำ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศขนาดเล็ก สาขาช่างซ่อมไมโครคอมพิวเตอร์
10
แผนงานที่จะดำเนินการในระยะต่อไป 1) การปรับปรุงระบบฐานข้อมูลของ สมฐ. ที่จะ สนับสนุนการดำเนินงานของหน่วยปฏิบัติให้เป็นไป ตามระบบการประกันคุณภาพ ในเรื่อง ข้อมูลรายชื่อผู้ ทดสอบ การตรวจสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน แห่งชาติให้เป็นปัจจุบัน การปรับปรุงข้อสอบ มาตรฐาน 2) การจัดหาอุปกรณ์เครื่องมือสำหรับระบบทดสอบ มาตรฐานฯ ด้วยอิเล็กทรอนิกส์ 3) การอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่หน่วยปฏิบัติใน การบริหารจัดการทดสอบด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ 4) มีระบบติดตามและประเมินผลการทดสอบเพื่อ นำมาปรับปรุงแก้ไขในงานมาตรฐานฝีมือแรงงาน
11
จบการนำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.