งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

EU-Thailand Cooperation in Export Control มาตรการ Catch-all controls Ms. Carmen Kovac, M.Sc., ประเทศสโลเวเนีย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "EU-Thailand Cooperation in Export Control มาตรการ Catch-all controls Ms. Carmen Kovac, M.Sc., ประเทศสโลเวเนีย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 www.eu-outreach.info EU-Thailand Cooperation in Export Control มาตรการ Catch-all controls Ms. Carmen Kovac, M.Sc., ประเทศสโลเวเนีย carmen.kovac@gov.si

2 EU-Thailand Cooperation in Export Control 2 เหตุผลที่ต้องมีมาตรการ Catch-all controls  เพื่อให้มีระบบควบคุมที่ดีขึ้น  เพื่อให้สามารถควบคุมสินค้าและเทคโนโลยีที่ไม่ได้อยู่ใน บัญชีควบคุม  ทำให้การควบคุมตรงเป้าหมายและมีการตรวจติดตามมากขึ้น  การควบคุมซึ่งเน้นที่การใช้งานปลายทางและผู้ใช้ปลายทาง  เครื่องมือเพิ่มเติมสำหรับหน่วยงานที่มีหน้าที่/ บริษัท  ภาคอุตสาหกรรมมีความตระหนักเกี่ยวกับการส่งออกสินค้า ล่อแหลมมากขึ้น

3 EU-Thailand Cooperation in Export Control 3 ความเป็นมาของมาตรการ Catch-all controls  สหรัฐฯ และเยอรมณีเริ่มนำระบบ Catch-all มาใช้ใน ปี พ.ศ. 2534  สหภาพยุโรป (อียู) บรรจุบทบัญญัติเกี่ยวกับมาตรการ Catch-all ในระเบียบว่าด้วยการควบคุมการส่งออก ในปี พ.ศ. 2538  ในช่วงปี พ.ศ. 2545 ถึง 2550 ระบอบควบคุมการ ส่งออกที่สำคัญทั้ง 4 กลุ่ม บรรจุบทบัญญัติ Catch-all ที่คล้ายกันลงในแนวทางปฏิบัติของตน

4 EU-Thailand Cooperation in Export Control 4 พื้นฐานทางกฎหมายและขอบเขตการใช้ของอียู มาตรา 4 ของระเบียบว่าด้วยสินค้าที่ใช้ประโยชน์ได้สองทาง (ระเบียบคณะมนตรี (EC) ที่ 428/2009 วันที่ 5 พฤษภาคม 2552 กำหนดให้มีการจัดตั้งองค์กรเพื่อควบคุมการส่งออก การถ่ายโอน การเป็นนายหน้าและการส่งผ่านสินค้าที่ใช้ประโยชน์ได้สองทาง) สินค้าที่ไม่อยู่ในบัญชีซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อ:  การใช้ปลายทางที่เกี่ยวข้องกับ WMD  การใช้งานปลายทางสำหรับการทหารในประเทศปลายทางที่สั่ง ห้ามการค้าขาย  ใช้เป็นชิ้นส่วนหรือส่วนประกอบของสินค้าทางทหารที่ส่งออก อย่างผิดกฎหมาย และมีรายชื่ออยู่ในบัญชีแห่งชาติ

5 EU-Thailand Cooperation in Export Control 5 มาตรการ Catch-all - ไม่เสมอไป  ในการใช้แต่ละกรณี เจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจ  ต้องส่งคำเตือน ‘catch-all warning’ ไปให้ผู้ส่งออก โดยระบุเหตุผลที่ จำเป็นต้องขอใบอนุญาต  นอกจากนี้ ผู้ส่งออกที่ทราบว่าสินค้าที่ตนวางแผนจะส่งออกนั้นมี จุดประสงค์หรืออาจมีจุดประสงค์เพื่อนำไปใช้งานที่ระบุในกฎระเบียบ จะต้องแจ้งให้หน่วยงานที่มีอำนาจทราบ ซึ่งหน่วยงานจะสามารถ ตัดสินใจได้ว่าจะกำหนดให้ต้องขอใบอนุญาตหรือไม่  ความเป็นไปได้สำหรับประเทศสมาชิกอียูที่จะวางข้อกำหนดในการ ได้รับอนุญาต หากผู้ส่งออกมีเหตุผลที่จะสงสัยการใช้มาตรการ Catch-all

6 EU-Thailand Cooperation in Export Control 6 จะดำเนินมาตรการ Catch-all เมื่อ  หน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่  ได้รับข้อมูลจำเพาะเกี่ยวกับการส่งออกหรือโครงการที่อาจเป็นภัยต่อ ความมั่นคง  ประเมินแล้วเห็นว่าประเทศที่เป็นจุดหมายปลายทางเป็นประเทศเสี่ยง  ได้รับแจ้งจากผู้ส่งออกซึ่งต้องการการประเมินเพิ่มเติม  ศุลกากรห้ามการทำธุรกรรมบางอย่าง... อย่างไร  ติดต่อกับผู้ส่งออกและขอให้ยื่นใบสมัครขอรับใบอนุญาต  ออกคำสั่งห้ามทันทีในกรณีฉุกเฉิน

7 EU-Thailand Cooperation in Export Control 7 การใช้งานปลายทาง: บทบาทของผู้ใช้ปลายทางในมาตรการ Catch- all  ข้อมูลที่ว่าของที่กำลังเป็นปัญหาซึ่งกำลังจะเดินทางไปประเทศ ที่สาม อาจถูกใช้ในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการแพร่ขยายอาวุธ นิวเคลียร์ อาวุธชีวภาพหรือเคมี หรือขีปนาวุธ หรือการใช้งาน ปลายทางเพื่อการทหารในประเทศที่อยู่ภายใต้คำสั่งห้ามซื้อ ขายอาวุธ หน่วยงานที่มีอำนาจควรแจ้งให้ ผู้ส่งออกทราบ ผู้ส่งออกควรแจ้ง/ยื่นขอรับ ใบอนุญาต

8 EU-Thailand Cooperation in Export Control 8 การใช้งานปลายทาง: ผู้ใช้ปลายทาง  ข้อมูลที่ว่าผู้ใช้ปลายทางของสินค้าหรือเทคโนโลยีที่กำลังเป็น ปัญหาจะเกี่ยวข้องกับ กำลังเกี่ยวข้องกับ หรือเคยเกี่ยวข้องกับ การพัฒนา การผลิต การใช้และการเก็บรักษาอาวุธนิวเคลียร์ ชีวภาพหรือเคมี หรือขีปนาวุธ หรือการใช้งานปลายทางเพื่อ การทหารในประเทศที่อยู่ภายใต้คำสั่งห้ามซื้อขายอาวุธ หน่วยงานควรแจ้งให้ผู้ส่งออก ทราบ ผู้ส่งออกควรแจ้ง/ยื่นขอรับ ใบอนุญาต *ไม่จำเป็นเมื่อ พิจารณาการใช้หรือชนิดของธุรกรรมแล้วพบอย่างชัดเจนว่าสินค้าหรือ เทคโนโลยีดังกล่าวจะไม่ถูกนำไปใช้ในการพัฒนาอาวุธที่มีอำนาจทำลายล้างสูง/ การใช้ ทางการทหาร แม้ว่าเงื่อนไขเกี่ยวกับผู้ใช้ปลายทางจะเข้าข่ายก็ตาม

9 EU-Thailand Cooperation in Export Control 9 การประเมินความเสี่ยง และ เทคนิค  ความเสี่ยงในการใช้หรือการเปลี่ยนแปลงที่ไม่ สามารถยอมรับได้  ความน่าเชื่อถือของการใช้งานปลายทางที่ระบุไว้ (ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้ปลายทาง ปริมาณ ปริมาตร...)  % ความเป็นไปใช้ที่จะนำไปใช้ทางที่ไม่เหมาะสม  ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้ปลายทาง  การปฏิเสธที่ปรากฏ  ความล่อแหลมของประเทศปลายทาง

10 EU-Thailand Cooperation in Export Control 10 การจัดการความเสี่ยงและเทคนิค  การรวบรวมและแลกเปลี่ยนข้อมูลก่อนและหลังการ ตัดสินใจเกี่ยวกับมาตรการ catch-all  ความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หน่วยงานออกใบอนุญาต ศุลกากร หน่วยข่าวกรอง...)  ความร่วมมือระหว่างประเทศ บัญชีรายชื่อผู้ถูกปฏิเสธ ไม่ออกใบอนุญาต  การแลกเปลี่ยนการปฏิบัติที่ได้ผลดีที่สุด  ความตระหนักของภาคอุตสาหกรรม

11 EU-Thailand Cooperation in Export Control 11 การจัดการกับ Catch-all ในประเทศสโลเวเนีย  การควบคุมสินค้าที่ใช้ประโยชน์ได้สองทาง – กระทรวงเศรษฐกิจ (MoE)  ไม่ขยายขอบเขตของใบอนุญาต  พยายามเพิ่มความตระหนักแก่ภาคอุตสาหกรรม  ส่งเสริมผู้ส่งออกให้ติดต่อกับ MoE ล่วงหน้าเพื่อขอความเห็นเบื้องต้น (“กระบวนการขอรับทราบข้อสมมุติฐาน” โดยให้ข้อมูลมากที่สุดเท่าที่ จะเป็นไปได้ แต่ไม่จำเป็นต้องระบุการใช้ปลายทาง)  พิจารณาจุดหมายปลายทางที่ล่อแหลม  ใช้คณะกรรมการภายในของกระทรวงรวบรวมข้อมูล  แจ้งผลการตัดสินใจให้ผู้ส่งออกทราบ

12 EU-Thailand Cooperation in Export Control 12 การตัดสินใจเกี่ยวกับ Catch-all ประเภทของการตัดสินใจเกี่ยวกับระบบ catch-all:  ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม:  ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผู้ใช้ปลายทางและความเกี่ยวข้องกับโครงการ อาวุธที่มีอำนาจทำลายล้างสูง หรือการใช้ทางทหารในประเทศที่อยู่ ภายใต้คำสั่งห้ามซื้อขายอาวุธ  ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสินค้าและการใช้งาน

13 EU-Thailand Cooperation in Export Control 13 ตัวอย่าง (1) กรณีที่ 1 เกี่ยวกับสินค้าที่ไม่ได้อยู่ในบัญชี  โรงงาน อุปกรณ์และส่วนประกอบ (อุปกรณ์ห้องแล็บ) สำหรับ การผลิตสารเคมี ซึ่งมีประสิทธิภาพต่ำกว่าใน 2B350  ผู้ใช้ปลายทางที่ล่อแหลมในประเทศที่อาจเป็นภัยคุกคามต่อ ความมั่นคงระหว่างประเทศ  การตัดสินใจ “Catch-all” และเป็นไปได้ที่จะตัดสิน ปฏิเสธ “catch-all denial”  ปฏิเสธและแจ้งการปฏิเสธให้อียูและประเทศสมาชิกอียูทราบ

14 EU-Thailand Cooperation in Export Control 14 ตัวอย่าง (2) กรณีที่ 2 เกี่ยวกับสินค้าที่ไม่อยู่ในบัญชี  ปั๊มที่มีอัตราการไหลพิเศษ แต่พื้นผิวทั้งหมดไม่ได้ทำ จากวัสดุที่ระบุใน 2B350.i  ผู้ใช้ปลายทางไม่ล่อแหลม  การตัดสินใจ NO ”catch-all”

15 EU-Thailand Cooperation in Export Control 15 ตัวอย่าง (3/1) กรณีที่ 3 เกี่ยวกับสินค้าที่ไม่อยู่ในบัญชี  อะลูมิเนียมอัลลอยด์อยู่ในรูปแท่งกลม มีค่าความแข็งแรงสูงสุด น้อยกว่า 460 MPa เส้นผ่านศูนย์กลางวัดภายนอก > 75 มม. (อ้างอิง 1C202.a)  ผู้ใช้ปลายทางล่อแหลมอยู่ในประเทศที่อาจเป็นภัยต่อความ มั่นคงระหว่างประเทศ  ขอข้อมูลเพิ่มเติม

16 EU-Thailand Cooperation in Export Control 16 ตัวอย่าง (3/2) กรณีที่ 3 เกี่ยวกับสินค้าที่ไม่ได้อยู่ในบัญชี (ต่อ)  ถาม: ผู้ใช้ปลายทางสามารถทำให้อะลูมิเนียมอัลลอยด์แข็งขึ้น เพื่อเพิ่มค่าความแข็งแรงสูงสุดได้หรือไม่?  การตัดสินใจ: เป็นสินค้าในกลุ่ม “catch-all”, แจ้งให้ผู้ส่งออก ยื่นขอใบอนุญาต  การประเมินโดยคณะกรรมการภายในของกระทรวง  ตอบ: ประเมินว่า “ไม่สามารถทำได้”  ออกใบอนุญาตให้ผู้ส่งออก

17 EU-Thailand Cooperation in Export Control 17 ตัวอย่าง (4/1) กรณีที่ 4 เกี่ยวกับสินค้าที่ไม่ได้อยู่ในบัญชี  “ความเห็นเบื้องต้น”  ระบบทำความเย็นแบบใช้ไครโรเจนของ Joule- Thomson ซึ่งท่อมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่าในบัญชีควบคุม (6A002d.2.b:JT เครื่องทำความเย็นขนาดเล็กซึ่งท่อมีเส้น ผ่านศูนย์กลาง (วัดด้านนอก) น้อยกว่า 8 มม.)  ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ในประเทศที่ต้องสงสัยว่าเกี่ยวพันกับ อาวุธที่มีอำนาจทำลายล้างสูง  การใช้งานปลายทางที่ระบุ: สำหรับการทดสอบเครื่องตรวจจับ อินฟราเรดที่อุณหภูมิต่ำประมาณ 80K

18 EU-Thailand Cooperation in Export Control 18 ตัวอย่าง (4/2) กรณีที่ 4 ของสินค้าที่ไม่อยู่ในบัญชี (ต่อ)  กระทรวงเศรษฐกิจถามผู้ส่งออกว่าทราบหรือสงสัยหรือไม่ว่า สินค้าจะถูกนำไปใช้ในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาวุธที่มีอำนาจ ทำลายล้างสูง (WMD)  คณะกรรมการภายในกระทรวงตรวจสอบ “คำขอรับข้อ สมมุติฐาน” พร้อมข้อมูลเกี่ยวกับประเทศ ผู้ใช้ปลายทาง ความ น่าเชื่อถือของการใช้งานปลายทาง การใช้งานผลิตภัณฑ์ การ ปรับปรุงที่อาจทำได้ โอกาสที่จะนำไปใช้ในทางที่ไม่เหมาะสม...  ตรวจสอบการปฏิบัติก่อนหน้านี้  การตัดสินใจ: No “catch all” – แจ้งให้ผู้ส่งออกทราบ

19 EU-Thailand Cooperation in Export Control 19 มาตรการ Catch all! ขอบคุณผู้เข้าร่วมการสัมมนาทุกท่าน!


ดาวน์โหลด ppt EU-Thailand Cooperation in Export Control มาตรการ Catch-all controls Ms. Carmen Kovac, M.Sc., ประเทศสโลเวเนีย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google