งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วัตถุประสงค์  เข้าใจขั้นตอน วิธีการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ ตามกรอบและแนวทางการประเมิน  จัดทำเอกสารตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการได้ถูกต้อง.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วัตถุประสงค์  เข้าใจขั้นตอน วิธีการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ ตามกรอบและแนวทางการประเมิน  จัดทำเอกสารตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการได้ถูกต้อง."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 วัตถุประสงค์  เข้าใจขั้นตอน วิธีการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ ตามกรอบและแนวทางการประเมิน  จัดทำเอกสารตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการได้ถูกต้อง ครบถ้วน  ปฏิบัติราชการมุ่งผลสัมฤทธิ์ และประโยชน์ สุขของประชาชน

3 คณะกรรมการกำกับการจัดทำข้อตกลงและการประเมินผล องค์ประกอบคณะกรรมการกำกับการจัดทำข้อตกลงและการประเมินผล 1.รองนายกรัฐมนตรีประธาน ก.พ.ร. 2.รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีรองประธานกรรมการ 3.ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีกรรมการ 4.ม.ร.ว. จัตุมงคล โสณกุลกรรมการ 5.นายชัยอนันต์ สมุทวณิชกรรมการ 6.นายบวรศักดิ์ อุวรรณโณกรรมการ 7.นายปรีชา จรุงกิจอนันต์กรรมการ 8.นายวัฒนา รัตนวิจิตรกรรมการ 9.นายสมพล เกียรติไพบูลย์กรรมการ 10.นายสมภพ อมาตยกุลกรรมการ 11.นายธรรมรักษ์ การพิศิษฎ์กรรมการ 12.นายมนุชญ์ วัฒนโกเมรกรรมการ 13.นายการุณ กิตติสถาพรกรรมการ 14.14.เลขาธิการ ก.พ.ร.กรรมการและเลขานุการ

4 คณะกรรมการเจรจาข้อตกลงและประเมินผล แต่งตั้งโดย : คณะกรรมการ ก.พ.ร. หน้าที่ : เจรจาความเหมาะสมของตัวชี้วัด น้ำหนัก ค่าเป้าหมาย เกณฑ์การให้คะแนน คณะกรรมการเจรจาข้อตกลง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  นายสมพล เกียรติไพบูลย์  ศ.ดร. เกษม จันทร์แก้ว  นายชัยณรงค์ อินทรมีทรัพย์  ศ.ดร.สนิท อักษรแก้ว  ประธาน ค.ต.ป. ทส.

5 การเจรจาตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับกระทรวง/กลุ่มภารกิจ คณะกรรมการเจรจาฯ เจรจา ปลัดกระทรวงฯ รองปลัดกระทรวงฯ (หัวหน้ากลุ่มภารกิจ) หัวหน้าหน่วยงานระดับกระทรวง/กลุ่มภารกิจ ระดับกรม  ปลัดกระทรวงฯ  รองปลัดกระทรวงฯ (หัวหน้ากลุ่มภารกิจ) เจรจา อธิบดี เลขาธิการ

6 บริษัทที่ปรึกษาด้านการประเมินผล แต่งตั้ง : โดยสำนักงาน ก.พ.ร. ที่ปรึกษา ประจำปี 2552 : บริษัททริส คอร์ปอเรชั่น จำกัด (TRIS) หน้าที่ : ศึกษาวิเคราะห์ความเหมาะสมตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติ ราชการ เป็นที่ปรึกษาให้ส่วนราชการ กระทรวง/กลุ่ม/กรม

7 Q1  คำรับรองเป็นสัญญาหรือไม่ ? A1 คำรับรองการปฏิบัติราชการ  ถือเป็นคำรับรองของส่วน ราชการฝ่ายเดียว ไม่ใช่ สัญญา  คำรับรองมีระยะเวลาเท่าไร ?  ใช้สำหรับระยะเวลา 1 ปี  องค์ประกอบ 1) คู่ลงนามคำรับรอง 2) ระยะเวลา เริ่มต้น/สิ้นสุด (สอดคล้อง มีงบประมาณ) 3) แผนปฏิบัติราชการ 4) รายละเอียดตัวชี้วัด  คำรับรองมีองค์ประกอบที่ สำคัญอะไรบ้าง ?

8 การลงนามในคำรับรอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ระดับกระทรวง นายกรัฐมนตรี ลงนามกับ ปลัดกระทรวง ลงนามกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง

9 การลงนามในคำรับรอง ระดับกลุ่มภารกิจ ลงนามกับ รองปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวง ปลัดกระทรวง ร่วมกับ

10 การลงนามในคำรับรอง ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ระดับกรม นายกรัฐมนตรี ลงนามกับ ขึ้นตรงต่อ รัฐมนตรีว่าการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ลงนามกับ ไม่สังกัดกระทรวง รองนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีว่าการที่กำกับดูแล ลงนามกับ กรม (ในกลุ่มภารกิจ) รองปลัดกระทรวง ร่วมกับ ปลัดกระทรวง ลงนามกับ กรม (ไม่มีกลุ่มภารกิจ) ปลัดกระทรวง ลงนามกับ ปลัดกระทรวง (สป.) รัฐมนตรีที่กำกับดูแล ลงนามกับ

11 การลงนามคำรับรองกรมป่าไม้ กรมป่าไม้ (กรมในกลุ่มภารกิจด้านทรัพยากรธรรมชาติ) ลงนามกับ อธิบดีกรมป่าไม้ รองปลัดกระทรวง ทส. (หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้าน ทรัพยากรธรรมชาติ) ปลัดกระทรวง ทส. ร่วมกับ

12 ปฏิทินการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและ การประเมินผลการปฏิบัติราชการ วันที่กิจกรรม 3 กรกฎาคม 2551  รับฟังความเห็นตัวชี้วัดภาคบังคับที่ส่วนราชการเป็นเจ้าภาพ 15 กรกฎาคม 2551  รับฟังความเห็นจากส่วนราชการ 22 กรกฎาคม 2551  นำร่างกรอบการประเมินผลเสนอคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบ ราชการเกี่ยวกับการส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบ ราชการเกี่ยวกับการส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 24 กรกฎาคม 2551  นำร่างกรอบการประเมินผลเสนอคณะกรรมการพัฒนาระบบ ราชการกรรมการพัฒนาระบบ ราชการ 9 สิงหาคม 2551  จัดประชุมสัมมนาผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นกรรมการเจรจาข้อตกลงของส่วน ราชการและจังหวัด 15 สิงหาคม 2551  สำนักงาน ก.พ.ร. ชี้แจงกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำ รับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ตุลาคม – ธันวาคม 2551  เจรจาความเหมาะสมของตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย น้ำหนัก และเกณฑ์การ ให้คะแนนตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวง/กลุ่มภารกิจ ส่วนราชการในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี และส่วนราชการไม่สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวงประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552  สำนักงาน ก.พ.ร. แจ้งผลการเจรจาตัวชี้วัด เป้าหมาย และเกณฑ์การ ให้คะแนนตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวง/กลุ่มภารกิจ  ส่วนราชการดำเนินการเจรจาข้อตกลงระดับกรม

13 ปฏิทินการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและ การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ) วันที่กิจกรรม ภายใน 30 มกราคม 2552  ส่วนราชการส่งคำรับรองการปฏิบัติราชการที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ได้ลงนามแล้ว ให้สำนักงาน ก.พ.ร. เพื่อรวบรวมนำเสนอนายกรัฐมนตรีลง นามรับคำรับรองการปฏิบัติราชการ  ส่วนราชการส่งสำเนาคำรับรองการปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจและกรมที่ ได้ลงนามแล้วให้สำนักงาน ก.พ.ร. จำนวน 1 ชุด  ส่วนราชการส่งรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI template) ให้สำนักงาน ก.พ.ร. จำนวน 3 ชุด และแผ่นบันทึกข้อมูล 1 แผ่น มิถุนายน – สิงหาคม 2552  ที่ปรึกษาสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ ภายใน 15 มีนาคม 2552  สำนักงาน ก.พ.ร. ส่งผลการตรวจสอบรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Audit) ให้ส่วนราชการ ภายใน 31 มีนาคม 2552 สิ้นสุดการรับคำขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดในคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 รอบแรก (ส่วนราชการต้องส่งคำขอ เปลี่ยนแปลงฯ และเอกสารชี้แจงเหตุผลความจำเป็น จำนวน 3 ชุด)

14 ปฏิทินการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและ การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ) วันที่กิจกรรม 30 เมษายน 2552 ส่วนราชการส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (Self Assessment Report) รอบ 6 เดือน (1 ตุลาคม 2551 – 31 มีนาคม 2552) จำนวน 3 ชุด และแผ่น บันทึกข้อมูล 1 แผ่น ให้สำนักงาน ก.พ.ร และกรอก e – SAR Card เข้า ระบบในเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ.ร. เมษายน – พฤษภาคม 2552 สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ปรึกษาด้านการประเมินผลให้คำปรึกษาแนะนำ แก่ส่วนราชการเกี่ยวกับความก้าวหน้าในการดำเนินงานตามคำรับรองการ ปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ภายหลังการรายงานการประเมินผลตนเอง รอบ 6 เดือน (ตามที่ส่วนราชการร้องขอ) ภายใน 16 กรกฎาคม 2552 ส่วนราชการกรอก e – SAR Card รอบ 9 เดือน (1 ตุลาคม 2551 – 30 มิถุนายน 2552) เข้าระบบในเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ.ร.

15 ปฏิทินการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและ การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ) วันที่กิจกรรม ภายใน 31 ตุลาคม 2552 ส่วนราชการส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (Self Assessment Report) รอบ 12 เดือน (1 ตุลาคม 2551 – 30 กันยายน 2552) จำนวน 3 ชุด และ แผ่นบันทึกข้อมูล 1 แผ่น ให้สำนักงาน ก.พ.ร. หากส่งล่าช้ากว่ากำหนดจะ ถูกหักคะแนน 0.0500 คะแนนต่อ 1 วันทำการ และกรอก e – SAR Card เข้าระบบในเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ.ร.สิ้นสุดการรับคำขอเปลี่ยนแปลง รายละเอียดในคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 รอบสุดท้าย (ส่วนราชการต้องส่งคำขอเปลี่ยนแปลงฯ และเอกสารชี้แจง เหตุผลความจำเป็น จำนวน 3 ชุดให้สำนักงาน ก.พ.ร. พร้อมกับรายงาน 12 เดือน)หมายเหตุ : เนื่องจากวันที่ 31 ตุลาคม 2552 เป็นวันหยุดราชการ ดังนั้นจึงให้จัดส่งไปยัง สำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2552 ส่วนราชการที่จะขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดในคำรับรองฯ ให้ระบุในหนังสือ นำส่งให้ชัดเจน พฤศจิกายน 2552 – มกราคม 2553 สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ปรึกษาด้านการประเมินผลติดตามประเมินผล การปฏิบัติราชการฯ ณ ส่วนราชการรอบ 12 เดือน

16 กลไกและวิธีการในการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ส่วนราชการจัดทำ แผนปฏิบัติราชการ - พัฒนาอะไร - ผลงานวัดด้วยตัวชี้วัด อะไร - เป้าหมายเท่าใด ประกาศให้ ประชาชน ทราบ จัดส่งแผนปฏิบัติ ราชการให้สำนักงาน ก. พ. ร. เจรจาคำรับรอง การปฏิบัติราชการ คำรับรอง การปฏิบัติราชการ ดำเนินการตามคำ รับรอง การปฏิบัติราชการ และประเมินผลตนเอง ประเมินผล รับสิ่งจูงใจ ตามระดับของ ผลงาน

17 กำหนดเวลาของการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ปรึกษาติดตาม ความก้าวหน้าการ ปฏิบัติราชการตาม คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ ครั้งที่ 2 (Site Visit II) กระทรวง/กลุ่มภารกิจ/กรม - ส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (SAR) รอบ 12 เดือนไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. -กรอกรายงานการประเมินผลตนเอง (e-SAR card) รอบ 12 เดือนเข้าระบบใน www.opdc.go.th กระทรวง/กลุ่มภารกิจ/กรม -ส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (SAR) รอบ 6 เดือนไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. - กรอกรายงานการประเมินผลตนเอง (e-SAR Card) รอบ 9 เดือนเข้าระบบ ใน www.opdc.go.th ที่ปรึกษา สำรวจ ความพึง พอใจ มิ.ย. – ส.ค. 52 ภายใน 31 ต.ค. 52 ภายใน 15 ม.ค. 52 31 มี.ค.52 กระทรวง/กลุ่มภารกิจ/กรม - จัดส่งรายละเอียดตัวชี้วัด ไปยัง สํานักงาน ก.พ.ร. เพื่อประกอบการ ประเมินผล สิ้นสุดวันรับคำขอเปลี่ยนแปลง ตัวชี้วัดน้ำหนัก และเกณฑ์การให้คะแนน ของกระทรวง/กลุ่มภารกิจ/กรม กระทรวง/กลุ่มภารกิจ/กรม - ส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (SAR) รอบ 6 เดือนไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. - กรอกรายงานการประเมินผลตนเอง (e-SAR Card) รอบ 6 เดือนเข้าระบบใน www.opdc.go.th 30 เม.ย.52 สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ ปรึกษาด้านการประเมินผลให้ คำปรึกษาแนะแก่ส่วนราชการ เกี่ยวกับความก้าวหน้าในการ ดำเนินงานตามคำรับรองการ ปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ภายหลังการรายงานการ ประเมินผลตนเอง รอบ 6 เดือน (ตามที่ส่วนราชการร้องขอ) ภายใน 16 ก.ค.52 ต.ค. – พ.ย. 52 รับข้อมูลผลการปฏิบัติงาน เพิ่มเติมจากกระทรวง/กลุ่ม ภารกิจ/กรม ที่ปรึกษาวิเคราะห์ผล และ ปรับคะแนนการ ประเมินผล ให้สมบูรณ์ครบถ้วน. สรุปผลการ ประเมิน นำเสนอ อ.ก.พ.ร./ ก.พ.ร. นำผลการ ประเมินไป เชื่อมโยง กับสิ่งจูงใจ ที่ปรึกษาวิเคราะห์ผล/ นำเสนอ อ.ก.พ.ร. เม.ย. – พ.ค. 52 สำนักงาน ก.พ.ร. และ ที่ปรึกษาร่วมกันวิเคราะห์ ผลการดำเนินงาน แจ้งผลการประเมิน ให้ส่วนราชการทราบ สำนักงาน ก.พ.ร. นำเสนอ คณะรัฐมนตรีเพื่อ รับทราบ

18 การติดตามและประเมินผล การปฏิบัติราชการ

19 2.1 วิธีการติดตามและประเมินผล - ลักษณะการติดตามและประเมินผล - หลักเกณฑ์การขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดคำรับรอง - หลักเกณฑ์การจัดส่งเอกสาร - ปฏิทินการติดตามประเมินผล 2.2 การคำนวณผลการประเมิน 2.2.1 ระดับคะแนน 2.2.2 วิธีการประเมินผลตัวชี้วัด 5 แบบ - ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ - ตัวชี้วัดเชิงปริมาณมากกว่า 1 ตัว - ตัวชี้วัดตามขั้นตอนการดำเนินงาน (Milestone) - ตัวชี้วัดผลสำเร็จ/ไม่สำเร็จ (Pass/Fail) - ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

20 ลักษณะการติดตามและประเมินผล 1.การศึกษาข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่าง ๆ - รายงานผลรอบ 6 เดือน, 12 เดือน - รายงานประเมินตนเองทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-SAR Card) 6, 9, 12 เดือน 2. การสัมภาษณ์บุคคล; ผู้ดูแลตัวชี้วัด, ผู้ จัดเก็บข้อมูล, ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3. การสังเกตการณ์; สภาพแวดล้อม, การ เก็บข้อมูล, ฐานข้อมูล 4. การขอความเห็นจากคณะผู้เชี่ยวชาญ

21 Q2  เมื่อลงนามคำรับรอง แล้ว จะแก้ไข รายละเอียดได้ไหม ? A2  การขอเปลี่ยนแปลง รายละเอียดคำรับรอง  รอบแรก : 31 มี.ค.52 1) การเปลี่ยนแปลง นโยบายรัฐบาล 2) ได้รับผลกระทบจาก ปัจจัยภายนอก 3) คณะกรรมการเจรจาฯ ให้ทบทวนตัวชี้วัด  รอบสุดท้าย : 31 ต.ค.52

22 ระยะเวลาการรายงานผลการปฏิบัติราชการ 30 เม.ย. - รายงานผลการปฏิบัติราชการฯ รอบ 6 เดือน (Self Assessment Report : SAR) - กรอก e-SAR Card เข้าเว็บไซต์สำนักงาน ก.พ.ร. 16 ก.ค. - กรอก e-SAR Card รอบ 9 เดือน เข้าเว็บไซต์สำนักงาน ก.พ.ร. 31 ต.ค. - รายงานผลการปฏิบัติราชการฯ รอบ 12 เดือน - กรอก e-SAR Card รอบ 12 เดือน เข้าเว็บไซต์ สำนักงาน ก.พ.ร. * หมายเหตุ : * รายงานรอบ 12 เดือนช้ากว่ากำหนด จะถูกหักคะแนน 0.05 คะแนน ต่อ 1 วันทำการ

23 การดำเนินการติดตามและประเมินผล ลำดับที่ ช่วงเวลา ของ กิจกรรม สำนักงาน ก.พ.ร. / ที่ปรึกษา ด้านการประเมินผล ส่วนราชการเอกสารประกอบ 1.ภายใน 30 เม.ย. 52  จัดส่งรายงานผลการปฏิบัติ ราชการตามคำรับรองการ ปฏิบัติราชการ (Self Assessment Report : SAR) และ รายงานการ ประเมินผลตนเอง (SAR Card) รอบ 6 เดือน ให้กับ สำนักงาน ก.พ.ร. พร้อม แนบตัวอย่างเอกสาร/ หลักฐานประกอบของ ตัวชี้วัดมาด้วย ส่วน เอกสาร/หลักฐานที่ เกี่ยวข้องอื่นที่ไม่ได้จัดส่ง ให้ สำนักงาน ก.พ.ร. ขอให้ส่วนราชการจัดเตรียม ไว้ ณ ส่วนราชการเพื่อพร้อม ให้ผู้ประเมินตรวจสอบหรือ ขอข้อมูลเพิ่มเติม เช่น -รายงานการประชุม -แผนงาน/โครงการ -ปฏิทินการดำเนินงาน (Gantt Chart) -คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน  กรอกรายงานการประเมินผล ตนเองทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-SAR Card) รอบ 6 เดือน ในเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ.ร. (www.opdc.go.th)  รายงานผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Self Assessment Report : SAR) รอบ 6 เดือน  รายงานการประเมินผลตนเอง ทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-SAR Card) รอบ 6 เดือน  เอกสาร/หลักฐานอ้างอิงของ ส่วนราชการที่สนับสนุนผลงาน เช่น -รายงานการประชุม -แผนงาน/โครงการ -ปฏิทินการดำเนินงาน (Gantt Chart) -คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน ฯลฯ

24 การดำเนินการติดตามและประเมินผล (ต่อ) ลำดับที่ ช่วงเวลา ของ กิจกรรม สำนักงาน ก.พ.ร. / ที่ปรึกษา ด้านการประเมินผล ส่วนราชการเอกสารประกอบ 2.2.ภายใน 31 พ.ค. 52 วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน จากรายงานผลการปฏิบัติ ราชการตามคำรับรองการ ปฏิบัติราชการ (Self Assessment Report : SAR) และ รายงานการ ประเมินผลตนเอง ทาง อิเล็กทรอนิกส์ (e-SAR Card) รอบ 6 เดือน โดยเปรียบเทียบผล การดำเนินงานจริงกับเกณฑ์ การให้คะแนนที่กำหนด

25 การดำเนินการติดตามและประเมินผล (ต่อ) ลำดับที่ ช่วงเวลา ของ กิจกรรม สำนักงาน ก.พ.ร. / ที่ปรึกษา ด้านการประเมินผล ส่วนราชการเอกสารประกอบ 3.ภายใน 16 ก.ค. 52  วิเคราะห์ผลการ ดำเนินงานจาก รายงานการ ประเมินผลตนเอง ทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-SAR Card) รอบ 9 เดือน โดย เปรียบเทียบผลการ ดำเนินงานจริงกับ เกณฑ์การให้ คะแนนที่กำหนด  กรอกรายงานการ ประเมินผลตนเองทาง อิเล็กทรอนิกส์ (e-SAR Card) รอบ 9 เดือน ใน เว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ.ร. (www.opdc.go.th)www.opdc.go.th  รายงานการประเมินผลตนเอง ทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-SAR Card) รอบ 9 เดือน

26 การดำเนินการติดตามและประเมินผล (ต่อ) ลำดับที่ ช่วงเวลา ของ กิจกรรม สำนักงาน ก.พ.ร. / ที่ปรึกษา ด้านการประเมินผล ส่วนราชการเอกสารประกอบ 4.31 ต.ค. 52  จัดส่งรายงานผลการปฏิบัติ ราชการตามคำรับรองการปฏิบัติ ราชการ (Self Assessment Report : SAR) และรายงานการ ประเมินผลตนเอง (SAR Card) รอบ 12 เดือน พร้อมแนบตัวอย่าง เอกสาร/หลักฐานประกอบของ ตัวชี้วัดมาด้วย ส่วนเอกสาร/ หลักฐานที่เกี่ยวข้องอื่นที่ไม่ได้ จัดส่งให้สำนักงาน ก.พ.ร. ขอให้ ส่วนราชการจัดเตรียมไว้ ณ ส่วน ราชการเพื่อพร้อมให้ ผู้ประเมินตรวจสอบหรือขอข้อมูล เพิ่มเติม เช่น - รายงานการประชุม - คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน - แบบฟอร์มแสดงความคิดเห็น - แผนการดำเนินงานที่ได้รับความ เห็นชอบจากผู้มีอำนาจ - ภาพถ่าย (ภาพนิ่งและ ภาพเคลื่อนไหว)  กรอกรายงานการประเมินผล ตนเองทางอิเล็กทรอนิกส์ (e- SAR Card) รอบ 12 เดือน ใน เว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ.ร. (www.opdc.go.th)  รายงานผลการปฏิบัติ ราชการตามคำรับรองการ ปฏิบัติราชการ (Self Assessment Report : SAR) รอบ 12 เดือน  รายงานการประเมินผล ตนเอง ทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-SAR Card) รอบ 12 เดือน  เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง ของส่วนราชการที่สนับสนุน ผลงาน เช่น - รายงานการประชุม - คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน - แบบฟอร์มแสดงความ คิดเห็น - ภาพถ่าย (ภาพนิ่งและ ภาพเคลื่อนไหว) ฯลฯ

27 การดำเนินการติดตามและประเมินผล (ต่อ) ลำดับที่ ช่วงเวลา ของ กิจกรรม สำนักงาน ก.พ.ร. / ที่ปรึกษา ด้านการประเมินผล ส่วนราชการเอกสารประกอบ 5.พ.ย. 52 – ม.ค. 53  วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน จากรายงานผลการปฏิบัติ ราชการ ตามคำรับรองการ ปฏิบัติราชการ (Self Assessment Report : SAR) และ รายงาน การประเมินผล ตนเองทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-SAR Card) รอบ 12 เดือน โดยเปรียบเทียบผลการ ดำเนินงานจริงกับเกณฑ์การ ให้คะแนนที่กำหนด  ประสานกับส่วนราชการเพื่อ ติดตามประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ ณ ส่วนราชการ (Site visit : Post-Evaluation) ในกรณีที่ - ผลการดำเนินงานแตกต่าง จากค่าเป้าหมายมาก (ต่ำกว่า/สูงกว่ามาก) - แจ้งอุปสรรคต่อการ ดำเนินงานซึ่งเป็นปัจจัยที่ไม่ สามารถควบคุมได้ - ไม่รายงานผลหรือรายงาน ผลการดำเนินงานมาไม่ชัดเจน - มีข้อสังสัยในความน่าเชื่อถือ ของระบบฐานข้อมูล - ติดตามผลการดำเนินงาน เปรียบเทียบกับ Pre- Evaluation  ให้ความร่วมมือกับที่ปรึกษา ประเมินผลในการติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติราชการ ณ ส่วนราชการ (Site visit : Post- Evaluation)  จัดเจ้าหน้าที่ในการตอบข้อ ซักถาม/ชี้แจงถึงความแตกต่าง ระหว่างผลงานและเป้าหมาย แจ้ง ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะต่างๆ  แบบฟอร์มการติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ ณ ส่วนราชการ ซึ่งเป็นแบบฟอร์มที่ที่ ปรึกษาจัดทำขึ้นเพื่อใช้ใน การประเมินผล (Site visit : Post-Evaluation)  เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง ของส่วนราชการที่สนับสนุน ผลงาน เช่น - ภาพถ่าย (ภาพนิ่งและ ภาพเคลื่อนไหว) - ปฏิทินการจัดทำแผนงาน/ โครงการ ฯลฯ

28 ระดับคะแนนของผลการประเมิน ผลการประเมินระดับคะแนน ระดับดีกว่าเป้าหมายมาก5 ระดับดีกว่าเป้าหมาย4 ระดับเป็นไปตามเป้าหมาย3 ระดับต่ำกว่าเป้าหมาย2 ระดับต่ำกว่าเป้าหมายมาก1

29 การกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 : ทำได้ต่ำกว่าเป้าหมายแผนงานประจำปีมาก หรือไม่มีการดำเนินการ ระดับ 2 : ทำได้ต่ำกว่าเป้าหมายแผนงานประจำปี ระดับ 3 : ทำได้ตามเป้าหมายแผนงานประจำปี หรือ กำหนดจากค่าผลงานปีที่ผ่านมา เพื่อเพิ่ม continuous improvement ระดับ 4 : สามารถบรรลุมิติด้านคุณภาพของ KPI นั้น หรือสะท้อนมิติด้านนวัตกรรมทางการบริหาร จัดการ หรือมีผลเชิง Impact ของสิ่งที่ ดำเนินการ ระดับ 5 : มี Benchmark ระดับชาติ หรือระดับ นานาชาติ “ ผลคะแนนที่ระดับ 3 ถือเป็นระดับที่ดีแล้ว และควรมีการ กระจายคะแนนผลการประเมินของส่วนราชการเป็นแบบ ปกติ (Normal Distribution)”

30 แนวทางการกำหนดตัวชี้วัด ตัวชี้วัดต้องสอดคล้องกับแผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ภารกิจหลักของส่วนราชการ ตัวชี้วัดของกระทรวงและกลุ่มภารกิจ ต้องมี ความสัมพันธ์กับตัวชี้วัดของส่วนราชการใน สังกัด เน้นการกำหนดตัวชี้วัดเป็นเชิงปริมาณหรือเชิง คุณภาพที่สามารถวัดและประเมินผลได้ ตัวชี้วัดควรสะท้อนผลผลิต (Output) และ ผลลัพธ์ (Outcome) หากผลลัพธ์ไม่อยู่ในความควบคุมของส่วน ราชการ สามารถกำหนดตัวชี้วัดในลักษณะเป็น การผลักดันไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผล

31 ตัวอย่างการประเมินผลตัวชี้วัดแบบต่าง ๆ แบบที่ 1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

32 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

33 แบบฟอร์มรายงานผลฯ ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

34 ตัวอย่างการประเมินผลตัวชี้วัดแบบต่าง ๆ แบบที่ 2 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ มากกว่า 1 ตัว

35 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณมากกว่า 1 ตัว

36 ตัวอย่างการประเมินผลตัวชี้วัดแบบต่าง ๆ แบบที่ 3 ตัวชี้วัดตามขั้นตอน การดำเนินงาน (Milestone)

37 ตัวชี้วัดตามขั้นตอนการดำเนินงาน (Milestone)

38 ตัวชี้วัดตามขั้นตอนการดำเนินงาน (Milestone) (ต่อ)

39 แบบฟอร์มรายงานผลฯ ตัวชี้วัดตามขั้นตอนการ ดำเนินงาน (Milestone)

40 ตัวอย่างการประเมินผลตัวชี้วัดแบบต่าง ๆ แบบที่ 4 ตัวชี้วัดผลสำเร็จ/ ไม่สำเร็จ

41 ตัวชี้วัดผลสำเร็จ/ไม่สำเร็จ (Pass/Fail)

42 แบบฟอร์มรายงานผลฯ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ/ไม่สำเร็จ

43 ตัวอย่างการประเมินผลตัวชี้วัดแบบต่าง ๆ แบบที่ 5 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

44 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

45 แบบฟอร์มรายงานผลฯ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

46 วิธีการและแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ

47 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ประเด็นการประเมินผลน้ำหนัก มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล (น้ำหนักร้อยละ 45) ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ 1ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติ ราชการของกระทรวง 1.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติ ราชการของกระทรวง 1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติ ราชการของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกันระหว่างกระทรวง (หากกระทรวงไม่มีตัวชี้วัด 1.2 ให้นำน้ำหนักไปรวมในตัวชี้วัด 1.1) 20 (13) (5) 1.3 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาศูนย์บริการร่วมหรือเคาน์เตอร์บริการประชาชน(2) 2ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ ของกลุ่มภารกิจ (หากไม่มีกลุ่มภารกิจให้นำน้ำหนักไปไว้ที่ตัวชี้วัด 1.1 ร้อยละ 5 และ ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละ 5) 10

48 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 (ต่อ) ประเด็นการประเมินผลน้ำหนัก มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล (น้ำหนักร้อยละ 45) ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ 3ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติ ราชการ/ภารกิจหลัก/เอกสารงบประมาณรายจ่ายฯของส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า 3.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตาม แผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลัก 3.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของส่วนราชการ (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายฯ) หมายเหตุ : กรณีตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการที่สะท้อนผลสำเร็จตามเป้าหมายผลผลิต ครบถ้วนแล้ว ไม่ต้องวัดผลตามตัวชี้วัดนี้ ให้นำน้ำหนักไปรวมในตัวชี้วัดที่ 3.1 15 (10) (5)

49 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 (ต่อ) ประเด็นการประเมินผลน้ำหนัก มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ (น้ำหนักร้อยละ 15) ความพึงพอใจของผู้รับบริการ 4ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ5 การมีส่วนร่วมของประชาชน 5ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ 4 ความเปิดเผย โปร่งใส 6ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการการป้องกันและปราบปราม การทุจริต 3 7ระดับความสำเร็จในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ3

50 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 (ต่อ) ประเด็นการประเมินผลน้ำหนัก มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ (น้ำหนักร้อยละ 20) ประสิทธิภาพการบริหารงบประมาณ 8ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน/รายจ่ายภาพรวม4 9ระดับความสำเร็จของการตรวจสอบภายใน3 10ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต3 ประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน 11ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการการประหยัดพลังงานของ ส่วนราชการ 3

51 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 (ต่อ) ประเด็นการประเมินผลน้ำหนัก การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ 12ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลา การให้บริการ 4 การพัฒนากฎหมาย กฎ ระเบียบ 13 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนากฎหมายของส่วนราชการ 3 มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร (น้ำหนักร้อยละ 20) การบริหารจัดการองค์การ 14 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 20

52 แบบฟอร์มรายละเอียดตัวชี้วัด

53 คำอธิบายการเขียนรายละเอียดตัวชี้วัด หัวข้อรายงานคำอธิบาย ชื่อตัวชี้วัดระบุชื่อตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ หน่วยวัดระบุหน่วยวัดของตัวชี้วัด เช่น ร้อยละ แห่ง ราย บาท ระดับ เป็นต้น น้ำหนักระบุน้ำหนักตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ คำอธิบายกรณีตัวชี้วัดภาคบังคับหรือใช้ข้อมูลจากหน่วยงานส่วนกลาง  ใช้คำอธิบายตัวชี้วัดตามรายละเอียดในหนังสือ สำนักงาน ก.พ.ร. ที่ นร. 1200/ว37 ลงวันที่ 18 กันยายน 2551 เรื่อง การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ และการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 กรณีเป็นตัวชี้วัดที่จัดเก็บข้อมูลเอง  ระบุคำจำกัดความและรายละเอียดเพิ่มเติมของตัวชี้วัดเพื่อให้ผู้ประเมินและผู้ได้รับการ ประเมินผลมีความเข้าใจที่ตรงกันถึงแนวทางการวัดผลตัวชี้วัด สูตรการคำนวณระบุสูตรการคำนวณที่สอดคล้องกับวิธีการวัดผลของตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนระบุเกณฑ์การให้คะแนนของแต่ละตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วน ราชการ เงื่อนไขระบุเงื่อนไขที่จำเป็นซึ่งมีส่วนสำคัญต่อการบรรลุผลสำเร็จของตัวชี้วัด รายละเอียดข้อมูลพื้นฐานระบุข้อมูลผลการดำเนินงานในอดีตของตัวชี้วัด ซึ่งต้องมีแนวทางการจัดเก็บข้อมูล สอดคล้องกับคำจำกัดความของตัวชี้วัดที่ใช้ในการประเมินผลปีงบประมาณปัจจุบัน แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูลระบุแหล่งของข้อมูลที่ส่วนราชการนำมาใช้อ้างอิงในการประเมินผลรวมทั้งวิธีการจัดเก็บ ข้อมูล ชื่อผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด หมายเลขโทรศัพท์ ระบุชื่อผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่ดูแล ติดตามการดำเนินงานให้ตัวชี้วัดบรรลุผลสำเร็จ พร้อมทั้งเบอร์โทรศัพท์ทั้งที่สำนักงานและโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในกรณีที่ต้องปฏิบัติราชการนอกสถานที่ทำงานเป็นประจำ ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล หมายเลขโทรศัพท์ ระบุชื่อผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่รวบรวมข้อมูลการดำเนินงานของตัวชี้วัด พร้อมเบอร์ โทรศัพท์ทั้งที่สำนักงานและโทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรณีที่ต้องปฏิบัติราชการนอกสถานที่ ทำงานเป็นประจำ

54 ตัวอย่างการเขียนรายละเอียดตัวชี้วัด

55


ดาวน์โหลด ppt วัตถุประสงค์  เข้าใจขั้นตอน วิธีการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ ตามกรอบและแนวทางการประเมิน  จัดทำเอกสารตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการได้ถูกต้อง.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google