ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยป้อง วอชิงตัน ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
จังหวัดบุรีรัมย์ วันที่ 13 – 15 ก.ค. 2559 คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย และระบบควบคุมโรค สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 รอบที่ 2/2559
2
ประเด็นการนำเสนอ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบควบคุมโรค ประเด็นการนำเสนอ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบควบคุมโรค 1. ระบบควบคุม ป้องกันโรค 2.
3
การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย : กลุ่มสตรีและเด็ก 0-5 ปี
4
: สิ่งที่ค้นพบ : 1. อัตราส่วนการตายมารดาปี 2559 ที่มา : รายงาน ก1 จังหวัด ปี 2559 เป้าหมาย : ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ประเด็นตรวจราชการ : 1. ระบบและกลไกการจัดการปัญหาแม่และเด็กระดับจังหวัด 6 2 3 13
5
: สิ่งที่ค้นพบ : 1.MCH Board เข้มแข็ง 2. ระบบข้อมูลดี มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงรายอำเภอ /รายสถานบริการสธ. 3. วิเคราะห์ RCA แม่ตาย ดี ลดการเกิดซ้ำ 4.โลหิตจางยังมีแนวโน้มสูง 20.91% : ความครอบคลุมต่ำ 18% 5. ANC 5 ครั้ง และ ก่อน 12 wk. ข้อมูลดีขึ้นเทียบกับปี 58 นวตกรรม : รพ.หนองกี่ อบรม อสม.ฝากท้องไว anc. wk. ละ 4 วัน ไปรษณียบัตร+โทร. ตาม ANC + หาสาเหตุการไม่มาตามนัด โอกาสพัฒนา : 1.Coaching การบันทึกข้อมูลรายสถานบริการ 2.KM การดำเนินงานที่ได้ผลดี : early anc หนองกี่ บ้านด่าน หนองหงส์ แคนดง บ้านกรวด ลำปลายมาศ ANC ตามเกณฑ์ : หนองกี่ บ้านด่าน ลำปลายมาศ บ้านกรวด
6
ประเด็นการตรวจราชการ : 2. ระบบการจัดการช่วยเหลือ หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยง & หญิงตั้งครรภ์ภาวะฉุกเฉิน ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ที่มา : HDC ณ วันที่ 10 ก.ค. 59 เป้าหมาย : ร้อยละ 60
7
ที่มา : HDC ณ วันที่ 10 ก.ค. 59 เป้าหมาย : ร้อยละ 80 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการการฝากครรภ์ 5 ครั้งตามเกณฑ์
8
ร้อยละของการคัดกรองโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ แยกรายเขตสุขภาพ ปี 2559 ที่มา : HDC ณ วันที่ 10 ก.ค. 59 ประเทศ ร้อยละ 30.42 เป้าหมาย : ร้อยละ 100 เขต 924.77
9
ร้อยละของการคัดกรองโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ของจังหวัดในเขตสุขภาพ ปี 2559 ที่มา : HDC ณ วันที่ 10 ก.ค. 59 เป้าหมาย : ร้อยละ 100
10
โลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ของจังหวัดสุรินทร์ ปี 2559 (คิดจากหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการเจาะเลือด) เป้าหมาย : ไม่เกินร้อยละ 20 ที่มา : HDC ณ วันที่ 10 ก.ค. 59
11
หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ปี 2559 ที่มา : HDC ณ วันที่ 10 ก.ค. 59 หมู่บ้านไอโอดีน 89 %, ความครอบคลุมเกลือไอโอดีน 95 %
12
ค่ามัธยฐานระดับไอโอดีนในปัสสาวะของหญิงตั้งครรภ์ ในเขตบริการที่ 9 ปี 2553 -2558 ที่มา : ศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา mU/L เป้าหมาย : ค่ามัธยฐาน > 150 mU/L
13
ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่มีระดับไอโอดีน < 150 µg/L ในเขตบริการที่ 9 ปี 2553-2558 เป้าหมาย : ไม่เกิน ร้อยละ 50 ที่มา : ศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา
14
ร้อยละของทารกแรกเกิดที่มีระดับ TSH >11.2 mU/L ในเขตสุขภาพที่ 9 ปี 2553-2557 ที่มา : กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ การเฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยง TSH >11.2 0 -3 % พื้นที่ไม่ขาดไอโอดีน TSH >11.2 > 3 % พื้นที่ขาดไอโอดีน
15
ค่ามัธยฐานระดับไอโอดีนในปัสสาวะของเด็ก 3-5 ปี เขตสุขภาพที่ 9 ปี 2554-2556 ปี 2555 ที่มา : สำนักโภชนาการ กรมอนามัย mU/L เป้าหมาย : ค่ามัธยฐาน 100 mU/L
16
สถานะสุขภาพเด็ก
17
กลุ่มสตรีและเด็ก 0-5 ปี เด็ก 0-5 ปี พัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 : สิ่งที่ค้นพบ : สงสัยว่าล่าช้า 6.41% 1.คัดกรองพัฒนาการ 4 ช่วงอายุ สงสัยว่าล่าช้า 6.41% (thaichild) 3.21% (รายงานจังหวัด) 9.48% (รณรงค์ 4-8 กค.59) ( Denver II เขต 9 25.1 %,ประเทศ 27.2 %) 2.พัฒนาการสงสัยว่าล่าช้าได้รับการติดตาม 94.09% (รายงานจังหวัด) (64.47% สตป.) 3.เด็ก 0 – 5 ปี รูปร่างสูงดี สมส่วน 80.04% (ความครอบคลุม 69.15%, สูงดี สมส่วน 51.38% (HDC 59) 4.การดำเนินการบันทึกข้อมูลพัฒนาการเด็ก โดยในการใช้ Special PP มีแนวทางที่ชัดเจน 5.มีระบบการ coaching โดยมีการ Coaching โดยระดับจังหวัดครบทุก Node เด็ก เพิ่มศักยภาพเจ้าหน้าที่ใน เรื่องพัฒนาการเด็ก 6.มีการเครือข่ายลงไปสู่ อสม. โดยการพัฒนา อสม.เชี่ยวชาญ ในแต่ละหมู่บ้าน ทำให้การติดตามเด็ก พัฒนาการสงสัยว่าล่าช้าได้เพิ่มขึ้น (ปี 58 - 55.57% ปี 59 – 94.09% (รายงานจังหวัด) 7.ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพผ่านเกณฑ์ 82.4 % ข้อเสนอแนะ : 1.เน้นระบบการ coachingในทุกระดับ เพิ่มศักยภาพทั้งในเรื่อง DSPM, DAIM, TEDA4I อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ Node และ CPM อำเภอ (เนื่องจากพบสงสัยว่าล่าช้าลดน้อยลงจาก ปี 58) 2.พัฒนาระบบการติดตามเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยว่าล่าช้าให้ครอบคลุม (อาจเน้นทีม FCT หรือพัฒนา อสม.เชี่ยวชาญในการติดตาม) ซึ่งมีพื้นที่บางแห่งดำเนินงานแล้ว เช่น CUP อำเภอเมือง รพ.นางรอง ควรขยายการดำเนินงานให้ครอบคลุมมากขึ้น
18
ข้อมูลเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ เขตสุขภาพที่ 9 ปี 2558-2559 ข้อมูล ณ 31 มีค. 59 หมายเหตุ : ข้อมูลจาก สตป. กลุ่มเป้าหมาย = 92,701 คน : ข้อมูลจาก HDC กลุ่มเป้าหมาย = 40,423 คน เด็กที่ได้รับการคัดกรอง 18,30 เดือน = 30,236 คน
19
ข้อมูลพัฒนาการเด็กสงสัยว่าล่าช้า จังหวัดบุรีรัมย์ 9, 18, 30 และ 42 เดือน โดยใช้ DSPM ปี 2558-2559
20
พัฒนาการเด็กสมวัย 9,18, 30, 42 เดือน โดยใช้แบบประเมิน DSPM ข้อมูล ณ วันที่ 1 เม.ย.58 – 31 มี.ค.59 เขตสุขภาพที่9 ที่มา: เว็บไซต์ Thaichild (n=73,879), สตป. (n=75,836), HDC (n= 271,040)
21
ข้อมูลการติดตาม เด็กที่มีพัฒนาการเด็กสงสัยว่าล่าช้า โดยใช้ DSPM เขตสุขภาพที่ 9 ปี 2558-2559 ข้อมูล ณ 31 มีค. 59 เป้าหมาย : ร้อยละ 100
22
พัฒนาการสงสัยว่าล่าช้า เขตสุขภาพที่ 9 แยกรายด้าน ที่มา : www.Thaichilddevelopment.com
23
พัฒนาการ สงสัย ว่าล่าช้า จังหวัดบุรีรัมย์ ตามอายุ และรายด้าน ที่มา : www.Thaichilddevelopment.com
24
ร้อยละทารกน้ำหนักต่ำกว่า 2500 กรัมในเขตสุขภาพที่ 9 ปี 2550 – 2559 ที่มา : รายงานสายใยรักแห่งครอบครัว ปี 2550 – 2557 และ HDC ปี 2558-2559 เป้าหมาย : ไม่เกินร้อยละ 7
25
ร้อยละของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ที่มา : HDC ณ วันที่ 10 ก.ค. 59 เป้าหมาย : ไม่เกินร้อยละ 7
26
ที่มา : HDC ณ วันที่ 10 ก.ค. 59 ร้อยละของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม
27
เด็กที่ได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนขึ้นไป ที่มา : HDCเป้าหมาย : ร้อยละ 30
28
ภาวะโภชนาการในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี ที่มา: ข้อมูล HDC ปี 2559
29
ภาวะโภชนาการในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี เป้าหมายสูงดี สมส่วน : ร้อยละ 65 ปท. 46.3% ที่มา: ข้อมูล HDC ปี 2559
30
ร้อยละศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 2556 – 2558 ที่มา : รายงานผลการดำเนินงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ปี 2556-2558
31
ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก/ IQ
33
การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย : กลุ่มเด็กวัยเรียน
35
นักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 บุรีรัมย์ 9.9 % ที่มา : HDC ณ วันที่ 11 ก.ค. 59 ปีการศึกษา 2558 เทอม 2 ตค.- ธค. อัตรา(100)
36
ข้อสังเกตุ: การเฝ้าระวังสถานการณ์ภาวะโภชนาการ ที่มา: Datacenter จังหวัด บุรีรัมย์ การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย : กลุ่มวัยเรียน ปี 2555 ปี 2559 เทอม2/58 ปี 2559 เทอม2/58 หมายเหตุ : ข้อมูล คนละช่วงอายุ 55.56 % 57.78 % 10 %
37
เด็กอายุ 6 – 12 ปี เริ่มอ้วนและอ้วน ข้อมูลจาก Rapid survey ปี 55 (N = 8,433) ปี 56 (N = 1,800) ปี 57 (N = 5,556)
38
เด็กอายุ 6 – 12 ปี ค่อนข้างผอมและผอม ข้อมูลจาก Rapid survey ปี 55 (N = 8,433) ปี 56 (N = 1,800) ปี 57 (N = 5,556)
39
เด็กอายุ 6 – 12 ปี ค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย ข้อมูลจาก Rapid survey ปี 55 (N = 8,433) ปี 56 (N = 1,800) ปี 57 (N = 5,556)
40
เด็กอายุ 6 – 12 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ข้อมูลจาก Rapid surveyปี 56 (N = 1,800) ปี 57 (N = 5,556)
41
สถานการณ์ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ที่มา : HDC ณ วันที่ 11 ก.ค. 59 ปีการศึกษา 2558 เทอม 2 ต.ค.- ธ.ค.
42
เด็กนักเรียนเริ่มอ้วนและอ้วน (ไม่เกินร้อยละ 10 ภายในปี 2560) ข้อมูล R9 health: 11 ก.ค. 59 N=20,191 N=3,855 N=13,597 N= 5,723 N=43,366 HDC : 9.9
43
นักเรียนเริ่มอ้วนและอ้วน จ. บุรีรัมย์ ย้อนหลัง 3 ปี ที่มา : HDC ณ วันที่ 11 ก.ค. 59 แนวโน้มเพิ่มขึ้น 45 %
44
นักเรียนที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 ที่มา : HDC ณ วันที่ 11 ก.ค. 59 75.12% เตี้ย / ผอม/ เตี้ย ผอม 29 %
45
สิ่งที่ค้นพบ เด็กเริ่มอ้วนและอ้วน มีอัตราการเพิ่ม 45% /55.6% (ข้อมูลย้อนหลัง 3,5 ปี) เด็กผอม เตี้ย 21 % ยังเป็นปัญหาในพื้นที่ เด็กอ้วน ได้รับการส่งต่อเข้าคลินิก DPAC ร้อยละ 13.51 (503/3,723) รร.นำแผนการเรียนรู้เรื่องการจัดการ นน.ด้านโภชนาการไปใช้ (ร้อยละ 24.28) ข้อชื่นชม : จังหวัดถ่ายทอดโปรแกรม SKC /Thai School Lunch/เฝ้าระวังภาวะการเจริญเติบโต ให้กับผู้ผิดชอบงาน ครอบคลุมทุกระดับ เห็นการขับเคลื่อนงานชัดเจน โดย รร. เป้าหมายดำเนินงานได้ >กว่า 50% มีระบบฐานข้อมูลที่ดี (ครอบคลุมทุกอำเภอ ทุกโรงเรียนเป้าหมาย) การคัดกรองตรวจวัดสายตา ครอบคลุมทุกอำเภอ (94.14 %) พบสายตาผิดปกติ 36 ราย ได้รับการรักษา/แก้ไข ทุกราย โอกาสพัฒนา : การนิเทศติดตาม ประเมินผลหลังการอบรม เพื่อค้นหา นวตกรรมที่ดีๆ และการขยาย DPAC ลงมาสู่ รร.
46
การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย : กลุ่มวัยรุ่น
48
ที่มา : HDC ณ วันที่ 10 ก.ค. 59 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ( ปี 2559 รายเขสุขภาพ ) อัตรา:1,000
49
การตั้งครรภ์ซ้ำ ในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี (ปี 2559) รายเขตสุขภาพ การตั้งครรภ์ซ้ำ ในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี (ปี 2559) รายเขตสุขภาพ ร้อยละ ที่มา : HDC ณ วันที่ 10 ก.ค. 59
50
อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ปี 2559 (รายจังหวัด) อัตรา: 1,000 ที่มา : HDC ณ วันที่ 10 ก.ค. 59
51
อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ปี 2559 ( รายอำเภอ) ที่มา : HDC ณ วันที่ 10 กรกฎาคม 59 อัตรา:1,000
52
ร้อยละ การตั้งครรภ์ซ้ำ ในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี (ปี 2559) รายจังหวัด ที่มา : HDC ณ วันที่ 10 ก.ค. 59 เขตเมือง การตั้งครรภ์ซ้ำ นร. 30 % นอกระบบ 70 %
53
ร้อยละ ร้อยละของวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิด หลังคลอดหรือแท้ง ปี 2559 (รายจังหวัด) ที่มา : HDC ณ วันที่ 10 ก.ค. 59
54
ร้อยละของวัยรุ่น 15-19 ปีที่ได้รับการคุมกำเนิดหลังคลอดหรือแท้ง ร้อยละของวัยรุ่น 15-19 ปีที่ได้รับการคุมกำเนิดหลังคลอดหรือแท้ง ด้วยวิธีการคุมกำเนิดแบบกึ่งถาวรก่อนออกจากโรงพยาบาล ด้วยวิธีการคุมกำเนิดแบบกึ่งถาวรก่อนออกจากโรงพยาบาล ร้อยละ ที่มา : HDC ณ วันที่ 10 ก.ค. 59
55
ข้อสังเกต ทีมนักจัดการสุขภาพวัยรุ่นครบทุกอำเภอ ร่วมกับภาคีเครือข่าย ขับเคลื่อนด้วย 6 ยุทธศาสตร์ อำเภออนามัยเจริญพันธุ์บูรณาการ กับ DHS มี OHOS ทุกอำเภอ ข้อมูลระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและการส่งต่อนักเรียนกลุ่มเสี่ยง (มีรายงาน 17 อ. ร่วมกับการจัดการเรียนการสอนเพศวิถีศึกษารอบด้าน 16 คาบ/ปี 16 โรงเรียน) ถุงยางอนามัยไม่เพียงพอต่อความต้องการของวัยรุ่น การตั้งครรภ์ซ้ำเกินร้อยละ 10 (เกิดขึ้นในพื้นที่ชายขอบ บางพื้นที่มาจากความ ต้องการแรงงานสูง) บริการคุมกำเนิดกึ่งถาวรหลังคลอด/แท้งก่อนออกจาก รพ. น้อยกว่าร้อยละ 85 และบริการดังกล่าวยังไม่รวมถึงวัยรุ่นที่มีเพศสัมพันธ์แล้วแต่ยังไม่ตั้งครรภ์ที่มี ความต้องการการคุมกำเนิดวิธีนี้ด้วย
56
ข้อเสนอแนะ บูรณาการยุทธศาสตร์วัยรุ่นในทุกระดับ ทุกกระทรวงที่เกี่ยวข้อง/ ผ่านธรรมนูญ 9 ดีของจังหวัด จำแนกแม่วัยรุ่นและแม่บ้านวัยรุ่นออกจากกัน เยี่ยมเสริมพลัง/ติดตามข้อมูลในอำเภอที่ไม่รายงานข้อมูล /ยังทำไม่ได้ กระจายถุงยางอนามัยสู่วัยรุ่นให้ได้มากที่สุด เน้นอำเภอที่มีปัญหามากก่อน พัฒนาบุคลากรด้านบริการคลินิกวัยรุ่นให้ครอบคลุม (โดยเฉพาะการให้การปรึกษา, การฝังยาคุมกำเนิด/สนับสนุนให้เพิ่มบริการแก่วัยรุ่นที่มีเพศสัมพันธ์และต้องการบริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร ด้วย)
57
ผลงานเด่น มียุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น สอดคล้องกับ ปัญหา/ความต้องการและบริบทของจังหวัด อ. ห้วยราช มีการบูรณาการและขับเคลื่อนการดำเนินงานเข้ากับ DHS และตำบล จัดการสุขภาพเป็นระบบ กลุ่มหญ้าแฝก อ.เมือง จัดตั้งโดยเยาวชน มีบทบาทสำคัญ/กิจกรรมมากมายเพื่อ พัฒนาและช่วยเหลือดูแลวัยรุ่นมามากกว่า 10 ปี จังหวัดมีธรรมนูญ 9 ดี เป็นแนวทางในการดำเนินงานและกำกับติดตามงาน โรงเรียนต้นแบบปลอดเหล้าบุหรี่อำเภอละ 1 ตำบล อ. พุทไธสง เป็นอำเภอต้นแบบ “งดเหล้าครบพรรษา”
58
การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย : กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ
59
14.55 ที่มา : ข้อมูลรายงาน ตก.2 ของ 12 เขต รอบที่ 1/2559
60
ข้อสังเกต มีประชากรผู้สูงอายุ จำนวน 182,842 คน คิดเป็นร้อยละ 13.95 ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง ADL ร้อยละ 95.90 ผู้สูงอายุพึ่งพิงจำนวน ร้อยละ 2.52 (ค่าเฉลี่ยประเทศร้อยละ 12) CG 942 ราย มี 439 คน ข้อมูลคัดกรองโรคที่พบบ่อย ร้อยละ 83 (7 กลุ่ม) อบรมศักยภาพการดูแลผู้สูงอายุต่อเนื่องที่บ้าน (Home word) ด้วยโปรแกรม COCR 9 ครอบคลุมทุกพื้นที่ Care Manager อยู่ระหว่างอบรม อบรม Care Giver 70 ชั่วโมงในตำบลเป้าหมาย 474 คน
61
นวัตกรรมการดำเนิน มีระบบรายงานที่ดี วิเคราะห์กลุ่มติดบ้านติดเตียงเป็น 4 กลุ่ม พัฒนาฐานข้อมูลบันทึกใน special PP มีนโยบายจังหวัด BCM การมีส่วนร่วมของครอบครัวดูแล สุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน พัฒนา CG หลักสูตร 70 ชั่วโมง 1 คน/หมู่บ้าน ใช้งบ Cup การดำเนินงานคลินิกผู้สูงอายุในโรงพยาบาลนางรอง เชิงรุก คัดกรองในชุมชน และระบบส่งต่อที่เข้มแข็ง ตำบล LTC โดยส่วนร่วมของพระภิกษุร่วมเยี่ยมในกลุ่ม palliative care ต.ทองหลาง อ.บ้านใหม่ไชยพจน์
62
การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย : ผู้สูงอายุและคนพิการการพัฒนาระบบดูแลสุขภาพคนพิการ ข้อมูลคนพิการ (ต.ค.58 – มิ.ย. 59) **โปรแกรม HOSxP,COCR9,สปสช. ลำดับ 1. คนพิการทางกาย 20,378 2. คนพิการทางการได้ยิน 6,601 3. คนพิการทางการมองเห็น 5,305 ผลการดำเนินงาน ผู้ป่วยหลอดเลือดสมองราย ใหม่ได้รับการฟื้นฟู สมรรถภาพทางกายภาพ ร้อยละ 90 1,2371,03983.99 คนพิการเข้าถึงบริการด้าน สุขภาพ 38,262 35,42492.58 ประเภทพิการ เป้าหมายผลงานร้อยละ ทางการเห็น 5,3055,06095.38 ทางการได้ยิน 6,6016,17993.61 ทางกาย 20,37819,09093.68 ทางจิตใจ 3,1532,65584.21 ทางสติปัญญา 2,3802,05686.39 ทางการเรียนรู้ 36131587.26 ออติสติก 846982.14 ซ้ำซ้อน 1,2051,06988.71
63
การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย : ผู้สูงอายุและผู้พิการการพัฒนาระบบดูแล สุขภาพคนพิการ ข้อมูลคนพิการ (ต.ค.58 - พ.ค.59) รวม 46,446 คน ลำดับ 1. ผู้พิการทางกาย 2. ผู้พิการทางการมองเห็น 3. ผู้พิการทางการได้ยิน
64
ข้อชื่นชม ทุกภาคส่วนมีส่วนรวมในการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ และคนพิการ - มีการจัดทีมสหวิชาชีพจัดระบบการดูแลระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ/เยี่ยมบ้านคนพิการ ผู้ป่วยเรื้อรัง และผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคหลอด เลือดสมอง - มีการจัดรถรับ-ส่งคนพิการไปรับบริการตรวจประเมินการทำขาเทียม โดยอปถ. ข้อเสนอแนะ - เพิ่มกลุ่มเป้าหมายในการปรับสภาพแวดล้อม และสิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อให้ผู้สูงอายุและคนพิการ เข้าถึงการบริการและการใช้ประโยชน์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.