Engineering mechanic (static)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Advertisements

ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
การส่งเสริมและสนับสนุน ให้สหกรณ์เป็นวาระ แห่งชาติ.
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
ปริมาณสเกล่าร์ และปริมาณเวกเตอร์
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
รายงานประจำเดือน กุมภาพันธ์ - มีนาคม 2558
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
ผัก.
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
ความเค้นและความเครียด
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
อาจารย์พีรพัฒน์ คำเกิด
บทที่ 4 งาน พลังงาน กำลัง และโมเมนตัม
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
GALILEO GALILEI กาลิเลโอ กาลิเลอี
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
กลุ่มหลักสูตร กลุ่มหลักสูตรที่ 1 : พัฒนาความรู้
แผ่นดินไหว.
การวัด และหน่วย อ.รัตนสุดา สุภดนัยสร โดย
เครื่องผ่อนแรง Krunarong.
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
กำเนิดโลก ตามทฤษฏีบิกแบง ในยุคเริ่มแรกจักรวาลมีขนาดเล็ก พลังงานมหาศาลอัดแน่นเป็นสสาร ตามทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของไอสไตน์ (E = mc2) เมื่อจักรวาลเย็นตัวลง.
ระเบียบวิธีการศึกษาคติชนวิทยา
ความดัน (Pressure).
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
โครงการประหยัดพลังงาน ฝ่ายการพยาบาล 2559
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
นาย พิศณุ นิลกลัด.
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
แบบจำลองน้ำขึ้นน้ำลง
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Engineering mechanic (static) กลศาสตร์วิศวกรรม 1 Engineering mechanic (static)

ลำดับเนื้อหา เวคเตอร์และสเกลล่า ระบบแรง 2 มิติ 2.1 การหาแรงลัพธ์ 2.2 การกระจายแรง 2.3 ภาวะสมดุล แรงเสียดทาน จุดเซนทรอยด์ โมเมนต์แห่งความเฉื่อย ระบบแรง 3 มิติ กลศาสตร์ของไหลเบื้องต้น

กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering mechanics) เป็นวิชาว่าด้วยผลของแรงภายนอก ที่มากระทำกับวัตถุ ซึ่งถือว่าเป็นวัตถุแกร่ง (วัตถุไม่มีการเสียรูป)และผลของแรงที่ทำให้วัตถุนั้นเคลื่อนที่ วิชากลศาสตร์วิศวกรรมนี้ แบ่งการศึกษาแรงที่กระทำต่อวัตถุเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสภาพนิ่ง (static load) แรงสภาพเคลื่อนที่ (Dynamic load) ซึ่งมีหลายลักษณะ เช่น แรงกระแทกซ้ำ (Impact load) ,โมเมนตัม (Momentum) ,แรงเหวี่ยง หรือแรงหนีศูนย์ เป็นต้น สำหรับในชั้นเรียนนี้ขอเสนอเนื้อหา เกี่ยวข้องกับแรงสภาพนิ่งเท่านั้น เพื่อเป็นพื้นฐานในวิชาที่เกี่ยวข้องต่อไป

หน่วยที่ 1 เวคเตอร์และสเกลล่า ปริมาณทางวิทยาศาสตร์ แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่คือ 1. เวคเตอร์ (Vector) คือ ปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทางพร้อมกัน ส่วนใหญ่พบในวิขาวิศวกรรมเครื่องกลและโยธาหรือวิชาฟิสิกส์ เช่น น้ำหนัก, แรง , โมเมนต์ และโมเมนตัม เป็นต้น 2. สเกลล่า (Scalar) หมายถึง ปริมาณที่แต่ขนาดเพียงอย่างเดียว เช่น ปริมาณเกี่ยวข้องกับวิชาวิศวกรรมที่ศึกษาเกี่ยวกับเวลา ,ความร้อน ,อุณหภูมิ , ความหนาแน่น , ปริมาตร , มวล , ความเร็ว , ความเร่ง หรือ พลังงาน เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ปริมาณทางวิทยาศาสตร์ดังกล่าวนี้ จะมีหน่วยหลากหลายรูปแบบ และใช้สัญลักษณ์ต่างๆ ซึ่งจะได้ศึกษาเป็นอันดับต่อไป

กิจกรรมระหว่างเรียน ครั้งที่ 1 วันที่. /. / กิจกรรมระหว่างเรียน ครั้งที่ 1 วันที่ ...../.../... จงจำแนกว่าข้อใด เป็นเวคเตอร์(V)หรือสเกลล่า(S) ข้อ 1 …. รถยนต์วิ่งด้วยความเร็ว 100 km/hr ข้อ 2 ….. ลูกอุกบาตขนาด 300 ตัน พุ่งเข้าสู่พื้นโลก ด้วยความเร่งเฉลี่ยเท่ากับ 40 ft/sec 2 ข้อ 3 ….. น้ำเดือดที่อุณหภูมิ 80 °c ข้อ 4 ……พัดลมตัวนี้ กินกระแสไฟ เท่ากับ 30 A ข้อ 5……เกิดโมเมนต์รอบจุดหมุนปั้นจั่น เท่ากับ 18 T-m ข้อ 6 ….. พื้นสะพานรับน้ำหนักปลอดภัยจากรถบรรทุกได้ 30 ตันต่อเพลา ข้อ 1 2 3 4 5 6 เฉลย S V

การแปลงหน่วย ( Unit convert) หน่วยทางวิศวกรรม สามารถแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ได้ ดังนี้ ด้านมิติ เช่น ความยาว , พื้นที่ , ปริมาตร ส่วนมากอาศัยตัวเลขยกกำลังของหน่วยระยะ ด้านฟิสิกซ์ เช่น น้ำหนัก , แรงภายต่างๆ เช่น แรงเดี่ยว , แรงคู่ควบ , โมเมนต์ ,ความเร็ว ,โมเมนต์ตัมและความเค้น ฯลฯ ด้านพลังงาน เช่น ความร้อน ,อุณหภูมิ, ความดัน ฯลฯ ระบบหน่วยต่างๆส่วนใหญ่เริ่มใช้ในประเทศที่พัฒนาอุตสาหกรรมแล้ว หรือกลุ่ม G-8 เช่น อังกฤษ , อเมริกัน , ญี่ปุ่น ,รัสเซีย ซึ่งแต่ละประเทศจะกำหนดหน่วยของตนเองขึ้นมา ส่วนมากก็ยึดของอังกฤษหรืออเมริกัน ส่วนระบบเมตริก (ระบบสากล)เริ่มใช้กันภายหลังการปฏิวัติในฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1789 โดยคณะนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส.....

ตัวอย่าง การแปลงหน่วย ตย ตัวอย่าง การแปลงหน่วย ตย.1 จงแปลงค่าหน่วยจากด้านซ้ายมือเป็นด้านขวามือ 1.1 50 kg = 50 x 2.204 = ….. lb 2.2 120 kg-m = 120x[2.204x(39.37/12)] = ….. lb-ft 2.3 50 km / hr = ….. mile/hr 2.4 300 ksc. = …… psi 2.5 6-0-20 ไร่ = …… km 2 Note: 1 kg = 2.204 lb 5 mile = 8 kg 1 in. = 2.54 cm 1 วา ประมาณ 2 m