บทที่ 3 เรื่อง การต่อตัวต้านทาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Advertisements

LAB 2. การเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
ค คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม การแทนกราฟ.
ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า
หน่วยที่ 10 การขยายย่านวัด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้หนังสืออ่านนอกเวลา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่1 แผนกเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
หน่วยที่ 19 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า
ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การแก้ปัญหาการใช้ออสซิลโลสโคปวัดสัญญาณไฟฟ้ากระแสสลับของนักเรียน ชั้น ปวช.2 แผนกช่างไฟฟ้ากำลัง โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน และการทดสอบซ้ำ.
หน่วยที่ 5 กฎของโอห์ม.
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมนอกและมุมภายใน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ไฟไนต์ออโตมาตาที่คาดเดาไม่ได้ (Non-deterministic Finite Automata)
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การตรวจสอบสภาพมอเตอร์คอมเพรสเซอร์
บทที่ 8 เรื่อง เมชเคอร์เรนต์
วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าและ
บทที่ 6 เรื่องกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
ข้อ (1) ข้อ (2) ข้อ (3)
หน่วยที่ 6 กราฟ (Graphs)
Colpitts Oscillator Circuits
หน่วยการเรียนรู้ การเขียน โปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง คำสั่ง HTML 5 การแทรก รูปภาพและการเชื่อมโยง รหัส รายวิชา ง การงาน อาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ.
กลุ่มนโยบายและ แผน สพป. สท. 2 กลุ่มนโยบายและ แผน สพป. สท. 2.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
หน่วยที่ 3 กฎของโอห์ม ความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้า ( I ) ความต้านทาน ( R ) และความต่างศักย์ (E, V)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
การวิเคราะห์วงจรสายส่ง Transmission Line Analysis
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
พื้นที่ผิวของพีระมิด
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
A L U M I N I U M นายจักรกฤษณ์ หมวกผัน นายเอกราช รอดสว่าง
การบริหารโครงการ Project Management
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
Chapter Objectives Chapter Outline
DC Voltmeter.
MATRIX จัดทำโดย น.ส. ปิยะนุช เจริญพืช เลขที่ 9
Watt Meter.
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
การอบรมระบบงานฯสำหรับผู้ใช้งาน (ส่วนภูมิภาค)
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
เครื่องผ่อนแรง Krunarong.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
บทที่ 2 การวัด.
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
Power Flow Calculation by using
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
ชื่อโครงการ แผนงานโครงการเชิงบูรณาการเพื่อพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ตามหลักสูตรนักบริหารรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ รุ่นที่ 9
ภาพรวมดัชนีอุตสาหกรรมไทย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 เรื่อง การต่อตัวต้านทาน

การต่อตัวต้านทานไฟฟ้า ต่อได้กี่วิธี? 1. แบบอนุกรม 2. แบบขนาน 3. แบบผสม 3 วิธี

ตัวต้านทาน หมายถึง ตัวต้านทาน หมายถึง อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ทำหน้าที่ต้านการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้าให้ผ่านได้มากหรือน้อย

ความหมายของการต่อตัวต้านทานไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าหมายถึง การนำตัวต้านทานไฟฟ้าตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป มาต่อเข้าด้วยกันระหว่างจุดสองจุด

ชนิดของการต่อตัวต้านทานไฟฟ้า 1. การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบอนุกรม 2. การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนาน 3. การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบผสม

การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบอนุกรม ต้น R1 R2 R3 จุดที่ 2 จุดที่ 1 ปลาย ต่อ แสดงการต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบอนุกรม จุดที่ 2 จุดที่ 1 R1 R2 R3 แสดงการต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบอนุกรมในลักษณะอื่น ๆ

การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนาน จุดที่ 1 จุดที่ 2 R1 R2 R3 ปลาย ต้น จุดที่ 1 จุดที่ 2 R1 R2 R3 D A B C R4 จุดที่ 1 จุดที่ 2 R1 R2 R3 D A B C

แสดงการต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนานในลักษณะอื่น ๆ จุดที่ 1 จุดที่ 2 R1 R2 R3 A B C D F E แสดงการต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนานในลักษณะอื่น ๆ จุดต่อ A จุดต่อ B เส้นเชื่อมโยงระหว่างจุดต่อ แสดงจุดต่อ A และจุดต่อ B เป็นจุดเดียวกัน

แสดงขั้นตอนการพิจารณาการต่อตัวต้านทานไฟฟ้าที่ยุ่งยากให้เป็นอย่างง่าย A,D B,C R1 R2 R3 D A B C แสดงขั้นตอนการพิจารณาการต่อตัวต้านทานไฟฟ้าที่ยุ่งยากให้เป็นอย่างง่าย

การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบผสม R1 R2 R3 จุดที่ 1 จุดที่ 2 จุดที่ 1 จุดที่ 2 R1 R2 R3 D A B C จุดที่ 1 จุดที่ 2 R1 R2 R3 A C R4

การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบผสม ลักษณะอื่นๆ A C B D E F G H I J K L M R1 R2 R3 R4 R5 R6 R7 R8 จุดที่ 2 จุดที่ 1 การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบผสม ลักษณะอื่นๆ

ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของการต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบต่างๆ

ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของการต่อ ตัวต้านทานไฟฟ้าแบบอนุกรม RT = R1 + R2 + R3 +….+ RN

ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของ การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบอนุกรม ตัวอย่าง จากวงจรอนุกรมดังรูป กำหนดให้ค่าความต้านทาน R1 = 10 Ω , R2 = 15 Ω , R3 = 20 Ω , R4 = 25 Ω จงคำนวณหาค่าความต้านทานรวม (RT) ของวงจร วิธีทำ จากสูตร RT = R1 + R2 + R3 + R4 =10 Ω + 15 Ω + 20 Ω + 25 Ω ∴ RT = 70 Ω ตอบ

ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของการต่อ ตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนาน RT R1 R2 R3 RT = 1 1/ R1 + 1/R2 + 1/R3 +…. 1/RN

ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของการต่อ ตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนาน 1/ R1 =1/ R1 +1/R2 + 1/R3 +…. 1/RN RT = R1 x R2 R2 + R1 RT = R1 2 RT = RN N

ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของ ต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนาน ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของ ต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนาน ตัวอย่าง จากวงจรขนานดังรูป กำหนดให้ค่าความต้านทาน R1 = 10 Ω , R2 = 20 Ω , R3 = 20 Ω จงคำนวณหาค่าความต้านทานรวม (RT) ของวงจร วิธีทำ ตอบ

ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของการต่อ ตัวต้านทานไฟฟ้าแบบผสม RT = R1 + (R2 / / R3 )

ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของ การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบผสม ตัวอย่าง จากวงจรผสมดังรูป กำหนดให้ค่าความต้านทาน R1 = 2 Ω , R2 = 4 Ω , R3 = 5 Ω , R4 = 4 Ω , R5 = 5 Ω, R6 = 2 Ω จงคำนวณหาค่าความต้านทานรวม (RT) ของวงจร

ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของ การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบผสม (ต่อ)ตัวอย่าง วิธีทำ จากสูตร RT1 = R2 + R3 = 4 Ω + 5 Ω = 9 Ω RT2 = R4 + R5

ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของ การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบผสม (ต่อ)ตัวอย่าง RT3 = RT1 // RT2 RT = R1 + RT3 + R6 = 2 Ω + 4.5 Ω + 2 Ω ∴ RT = 8.5 Ω ตอบ

โรงเรียนฐานเทคโนโลยี โดย แผนกอิเล็กทรอนิกส์ จบการนำเสนอ โรงเรียนฐานเทคโนโลยี โดย แผนกอิเล็กทรอนิกส์