หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หม้อแปลง.
Advertisements

หน่วยที่ 18 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 2
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลยางพารา
หน่วยที่ 13 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 17 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 1
หน่วยที่ 3 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดแกนเหล็กเคลื่อนที่
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
ปริมาณสเกล่าร์ และปริมาณเวกเตอร์
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
หน่วยที่ 19 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า
ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ
หน่วยที่ 5 กฎของโอห์ม.
หน่วยที่ 14 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบไม่มีแกนเหล็ก
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
บทที่ 8 เรื่อง เมชเคอร์เรนต์
วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าและ
บทที่ 6 เรื่องกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
Engineering mechanic (static)
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
โครงสร้างของหุ่นยนต์เดินตาม เส้น. Sensor และหลักการ ทำงาน เซนเซอร์บนตัว หุ่นยนต์ รูปเซนเซอร์ขยายวงจรเซนเซอร์
หน่วยที่ 3 กฎของโอห์ม ความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้า ( I ) ความต้านทาน ( R ) และความต่างศักย์ (E, V)
หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
รหัส มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 (10)
Gas Turbine Power Plant
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
เครื่องวัดไฟฟ้าแบบชี้ค่า (เชิงอนุมาน)
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
การควบคุมการไหลของกำลังไฟฟ้า
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
ความเค้นและความเครียด
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
การผลิตงานจากโลหะผง คุณลักษณะของโลหะผงที่สำคัญ กรรมวิธีผลิตโลหะผง
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
DC Voltmeter.
Basic Electronics.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Watt Meter.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
ชนิด สมบัติ และการใช้ประโยชน์ของวัสดุ
ฟิสิกส์ ฟิสิกส์ กลุ่มเรียนที่ 1 อาจารย์ผู้สอน อ.ดร. วรินทร ศรีทะวงศ์ ห้องทำงาน ห้อง 545 ชั้น 5 อาคารวิชาการ 2 (C2) โทรศัพท์ (office)
แผ่นดินไหว.
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
พนักงานขับรถยกด้วยความปลอดภัย
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
ระเบียบวิธีการศึกษาคติชนวิทยา
โครงการประหยัดพลังงาน ฝ่ายการพยาบาล 2559
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน เรื่อง กำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า (Electrical Field and Construction of Transformer)   แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

แม่เหล็กไฟฟ้าเหมือนหรือแตกต่างจากแม่เหล็กถาวร อย่างไร หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 แม่เหล็กไฟฟ้าเหมือนหรือแตกต่างจากแม่เหล็กถาวร อย่างไร โครงสร้างของ หม้อแปลงไฟฟ้าเกี่ยวข้องกับแม่เหล็กไฟฟ้าอย่างไร แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

แม่เหล็กแบ่งออกเป็นกี่ชนิด อะไรบ้าง? หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 แม่เหล็กแบ่งออกเป็นกี่ชนิด อะไรบ้าง? 1. แม่เหล็กถาวร มีขั้วเหนือและใต้ที่แน่นอน เป็นแม่เหล็กธรรมชาติ หรือแม่เหล็กประดิษฐ์ เช่น โลหะผสม ALNICO 2. แม่เหล็กไฟฟ้า เกิดจากกระแสไฟฟ้าไหล ผ่านขดลวดที่พันบนแกน อากาศหรือแกนเหล็ก แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

แม่เหล็กไฟฟ้าเกิดขึ้น หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 แม่เหล็กไฟฟ้าเกิดขึ้น ได้อย่างไร? 1. กระแสไฟฟ้าไหลผ่านแท่ง ตัวนำ สนามแม่เหล็กไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า I F ทิศทางสนามแม่เหล็กไฟฟ้าหาได้จากกฎมือขวา แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

ทิศทางสนามแม่เหล็กไฟฟ้าหาได้จากกฎมือขวา หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 2. กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ขดลวดเหนี่ยวนำ N S แกนเหล็ก ขดลวดเหนี่ยวนำ กระแส ไฟฟ้า ขั้วใต้ ขั้วเหนือ ทิศทางสนามแม่เหล็กไฟฟ้าหาได้จากกฎมือขวา แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

ทิศทางของขั้วแม่เหล็กไฟฟ้าหาได้จากกฎมือขวา หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 2. กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ขดลวดเหนี่ยวนำ ขดลวดเหนี่ยวนำ สนามแม่เหล็กไฟฟ้า ทิศทางของขั้วแม่เหล็กไฟฟ้าหาได้จากกฎมือขวา แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

กฎมือขวา กล่าวว่าอย่างไร (Right Hand Rule) หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 กฎมือขวา กล่าวว่าอย่างไร (Right Hand Rule) 1. เมื่อกำมือขวาถ้าให้นิ้วหัวแม่มือ ชี้ทิศทางการไหลของกระแส ไฟฟ้า (I) นิ้วทั้ง 4 จะชี้ทิศทาง ของเส้นแรงแม่เหล็กรอบตัวนำ 2. เมื่อกำมือขวาถ้าให้นิ้วทั้งสี่ ชี้ทิศทางการไหลของกระแส ไฟฟ้า (I) นิ้วหัวแม่มือจะชี้ ทิศทางของขั้วเหนือ (N) แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 หม้อแปลงไฟฟ้า คืออะไร (Transformer) เครื่องกลไฟฟ้าที่ทำหน้าที่ส่งผ่านพลังงานไฟฟ้าจากวงจรไฟฟ้าหนึ่งไปสู่วงจรไฟฟ้าอีกวงจรหนึ่งโดยที่ความถี่ไฟฟ้ามีค่าเท่าเดิม วงจรไฟฟ้าที่ 1 วงจรไฟฟ้าที่ 2 พลังงานวงจรไฟฟ้าที่ 1 พลังงานวงจรไฟฟ้าที่ 2 พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

หม้อแปลงไฟฟ้ามีโครงสร้างอย่างไร? หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 หม้อแปลงไฟฟ้ามีโครงสร้างอย่างไร? 1. แกนเหล็กหม้อแปลงไฟฟ้า 2. ขดลวดหม้อแปลงไฟฟ้า แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

แกนเหล็กหม้อแปลงไฟฟ้า 1 เฟสมีลักษณะอย่างไรบ้าง? หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 แกนเหล็กหม้อแปลงไฟฟ้า 1 เฟสมีลักษณะอย่างไรบ้าง? 1. แบบคอร์ (Core Type) 2. แบบเชลล์ (Shell Type) 3. แบบเทอร์รอย (Toroidal Type) แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

แกนเหล็กหม้อแปลงไฟฟ้า 3 เฟสมีลักษณะอย่างไรบ้าง? หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 แกนเหล็กหม้อแปลงไฟฟ้า 3 เฟสมีลักษณะอย่างไรบ้าง? 1. แบบคอร์ (Core Type) 2. แบบเชลล์ (Shell Type) 3. แบบเทอร์รอย (Toroidal Type) แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

1 เฟสมีลักษณะอย่างไรบ้าง? หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 ขดลวดหม้อแปลงไฟฟ้า 1 เฟสมีลักษณะอย่างไรบ้าง? 1. แบบคอร์ (Core Type) ขดลวดทุติยภูมิ ภาระไฟฟ้า ขดลวดปฐมภูมิ ~ 2. แบบเชลล์ (Shell Type) ภาระไฟฟ้า ~ ขดลวดปฐมภูมิ ขดลวดทุติยภูมิ 3. แบบเทอร์รอย (Toroidal Type) แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

3 เฟสมีลักษณะอย่างไรบ้าง? หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 ขดลวดหม้อแปลงไฟฟ้า 3 เฟสมีลักษณะอย่างไรบ้าง? 1. แบบคอร์ (Core Type) ~ 2. แบบเชลล์ (Shell Type) 3. แบบเทอร์รอย (Toroidal Type) แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

ต้นขดลวดหม้อแปลงไฟฟ้า หมายถึงอะไร? หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 ต้นขดลวดหม้อแปลงไฟฟ้า หมายถึงอะไร? ต้นขดลวด ต้นขดลวด ต้นขดลวด แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 จุดเริ่มต้นในการพันขดลวดที่มีทิศทางการพันไปในทางเดียวกันโดยใช้สัญลักษณ์เป็นจุด (Dot) ต้นขดลวด ขดลวดทุติยภูมิ ภาระไฟฟ้า ขดลวดปฐมภูมิ ~ ภาระไฟฟ้า ~ ขดลวดปฐมภูมิ ขดลวดทุติยภูมิ ต้นขดลวด แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

หม้อแปลงไฟฟ้าแบ่ออกเป็นกี่ชนิด อะไรบ้าง? หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 หม้อแปลงไฟฟ้าแบ่ออกเป็นกี่ชนิด อะไรบ้าง? 1. แบ่งตามลักษณะแกนเหล็ก 1.1 แบบคอร์ (Core Type) 1.2 แบบเชลล์ (Shell Type) 1.3 แบบเทอร์รอย (Toroidal Type) แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

หรือ หม้อแปลงไฟฟ้าแบบออโต (Auto) หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 2. แบ่งตามจำนวนขดลวด หม้อแปลงไฟฟ้า 2.1 ชนิด 1 ขดลวด หรือ หม้อแปลงไฟฟ้าแบบออโต (Auto) 2.2 ชนิด 2 ขดลวด ได้แก่ขดลวดปฐมภูมิและทุติยภูมิ แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

3. แบ่งตามระบบไฟฟ้า 3.1 ชนิด 1 เฟส 3.2 ชนิด 3 เฟส หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 3. แบ่งตามระบบไฟฟ้า 3.1 ชนิด 1 เฟส 3.2 ชนิด 3 เฟส แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

4.1 ชนิดแปลงขึ้น (Step up) หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 4. แบ่งตามการแปลง แรงดันไฟฟ้า 4.1 ชนิดแปลงขึ้น (Step up) 220 V 2,400 V ~ 4.2 ชนิดแปลงลง (Step down) 220 V 24 V ~ แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

4.3 ชนิดอัตราส่วน 1:1 (One to One) ~ ~ 220 V 110 V หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 4.3 ชนิดอัตราส่วน 1:1 (One to One) 220 V ~ 110 V ~ แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

5.1 ประกอบเครื่องวัดไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 5. แบ่งตามการใช้งาน 5.1 ประกอบเครื่องวัดไฟฟ้า (1) หม้อแปลงกระแสไฟฟ้า (Current Transformer :CT) (2) หม้อแปลงแรงดันไฟฟ้า (Potential Transformer :PT) แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

5.3 หม้อแปลงใช้งานทั่วไป หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 5.2 หม้อแปลงระบบจำหน่าย 5.3 หม้อแปลงใช้งานทั่วไป แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

สัญลักษณ์ของหม้อแปลงไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า (2104-2107) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 สัญลักษณ์ของหม้อแปลงไฟฟ้า 1. ระบบ SI 2. ระบบอเมริกัน แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์