หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Advertisements

เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พิธีมอบโล่และเกียรติบัตรการประกวดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
เรื่องการการผัน คำเป็น คำตาย โดย นางสรัญญา โพธิ์เอี่ยม ครู คศ.1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ยุวกาชาดกับเส้นทางการทำงานด้านผู้สูงอายุ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมนอกและมุมภายใน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
1 Introduction to Number System วรวิทย์ พูลสวัสดิ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ทรงกระบอก.
การทดลองในวิชาฟิสิกส์
อ. ทองคำ ทองเจือ อ. ทองคำ ทองเจือ โรงเรียนบ้านเชิงดอย ( ดอยสะเก็ดศึกษา ) โรงเรียนบ้านเชิงดอย ( ดอยสะเก็ดศึกษา ) อ. ศศิธร สินลา อ. ศศิธร สินลา โรงเรียนแม่โป่ง.
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
สมบัติของเลขยกกำลัง จัดทำโดย นางเพ็ญประภา รัตนะเดชะ.
4) จำนวนคู่สองจำนวนที่เรียงติดกัน เมื่อนำ 6 มาลบออกจากจำนวนที่มากกว่าแล้ว คูณด้วย 3 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับเมื่อนำ 4 มาบวกกับจำนวนที่น้อยกว่าแล้วคูณด้วย 7.
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
พื้นที่ผิวของพีระมิด
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส.
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
Piyadanai Pachanapan, Power System Design, EE&CPE, NU
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส.
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ.
เรื่อง การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์
วิชา สังคมไทยในบริบทโลก
หัวข้อการนำเสนอรายงาน
เศษส่วนและทศนิยม.
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
แบบจำลองน้ำขึ้นน้ำลง
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส คณิตศาสตร์ (ค32101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส เรื่อง สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก สอนโดย ครูชนิดา ดวงแข

สำหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ กำลังสองของความยาวของด้าน ตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับ ผลบวก ของกำลังสองของความยาวของ ด้านประกอบมุมฉาก

ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของ ด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก c2 = a2 + b2 a2 = c2 - b2 b2 = c2 - a2 c a b

ตัวอย่างที่ 1 จากรูปDมุมฉากจงหาค่า c c2 = a2 + b2 c2 = 82 + 152 c2 = 64 + 225 c2 = 289 c2 = 17 × 17 c = 17 c 15 8

ตัวอย่างที่ 2 จากรูปDมุมฉากจงหาค่า a 25 24 a

ตัวอย่างที่ 3 จากรูปDมุมฉากจงหาค่า b 1.2 2

ลองทำดู

1. จำนวนที่กำหนดให้ในแต่ละข้อต่อ ไปนี้เป็นความยาวของด้านประกอบ มุมฉากของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ให้หาความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก

1) 6, 8 c2 = a2 + b2 c2 = 62 + 82 c2 = 36 + 64 c2 = 100 c2 = 10 × 10 c = 10

2) 12, 16 c2 = a2 + b2 c2 = 122 + 162 c2 = 144 + 256 c2 = 400 c2 = 20 × 20 c = 20

3) 18, 24 c2 = a2 + b2 c2 = 182 + 242 c2 = 324 + 576 c2 = 900 c2 = 30 × 30 c = 30

4) 1.5 , 2 c2 = a2 + b2 c2 = (1.5)2 + 22 c2 = 2.25 + 4 c2 = 6.25 c2 = 2.5 × 2.5 c = 2.5

5) 4.5, 6 c2 = a2 + b2 c2 = (4.5)2 + 62 c2 = 20.25 + 36 c2 = 56.25 c2 = 7.5 × 7.5 c = 7.5

2.(2) c2 = a2 + b2 c2 = 72 + 242 c2 = 49 + 576 c2 = 625 c2 = 25 × 25 c = 25 24 7 c

2.(4) b2 = c2- a2 b2 = (2.9)2- (2.1)2 b2 = 8.41 - 4.41 b2 = 4 b2 = 2 × 2 b = 2 2.1 2. 9

3.(1) a2 = c2 - b2 a2 = 152 - 122 a2 = 225 - 144 a2 = 81 a2 = 9 × 9 a = 9 12 a 15

61 3.(2) 11 b2 = c2 - a2 b2 = 612 - 112 b2 = 3,721 - 121 b2 = 3,600 b2 = 60 × 60 b = 60

b2 = c2 - a2 b2 = (3.9)2 - (1.5)2 b2 = 15.21 - 2.25 b2 = 12.96 b2 = 3.6 × 3.6 b = 3.6 3.(3) 3.9 1.5 b

3.(4) c2 = a2 + b2 c2 = (3.6)2 + (2.7)2 c2 = 12.96 + 7.29 c2 = 20.25 c2 = 4.5 × 4.5 c = 4.5 3.6 2.7

การบ้าน แบบฝึกหัดที่ 1.1 หน้าที่ 8 ข้อที่ 2, 3