สมการการเคลื่อนที่ในระบบพิกัดต่าง ๆ - พิกัดฉาก (x-y)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
Kinetics of Systems of Particles A B C F A1 F A2 F C1 F B1 F B2 Particles A B C System of Particles.
ทางรถไฟสายมรณะ ทางรถไฟสายประวัติศาสตร์ ที่ควรรำลึกและจดจำ
การกระแทกตามแนวศูนย์กลาง (direct central impact)
Engineering Mechanics
ทรงกระบอก.
Tips การตรวจรับบ้าน Part 1 : อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจรับบ้าน ลำดับ
การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
โมเมนต์ของแรง คำถาม  ถ้ามีแรงกระทำต่อวัตถุแล้วทำให้วัตถุหมุน
ฟิสิกส์1 และ หลักฟิสิกส์1
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์ ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
บรรยายครั้งที่ 5 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
พื้นที่ผิวของพีระมิด
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ความหมายของงานแม่พิมพ์โลหะ
ความเค้นและความเครียด
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
Chapter Objectives Chapter Outline
อาจารย์พีรพัฒน์ คำเกิด
บทที่ 4 งาน พลังงาน กำลัง และโมเมนตัม
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 งานและพลังงาน 6.1 งานและพลังงาน
แรงและการเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
การศึกษาการเคลื่อนที่เชิงอนุภาค
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
ฟิสิกส์ ว ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5
บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2. วงกลม กรวยเป็นรูปทรงเรขาคณิต
เครื่องผ่อนแรง Krunarong.
ความหนืด (viscosity) - 
Piyadanai Pachanapan, Power System Design, EE&CPE, NU
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.1 วงกลม
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
ความดัน (Pressure).
วงจรอาร์ ซี ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
ยิ้มก่อนเรียน.
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด Guy Metcalfe a,., Mark.
สัปดาห์ที่ 9 Designs by SolidWorks
การสเก็ตภาพสามมิติ(Three-Dimensional Pictorials )
การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotational Motion)
มั่นใจเชื่อถือได้ เหรียญ+ป้าย ลูกของแม่
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
คำถามที่ 21 อุปกรณ์ที่เป็นโลหะยาว ๆ นี้เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คิเนติกส์ของอนุภาค: กฎข้อที่สองของนิวตัน KINETICS OF PARTICLES: NEWTON’S SECOND LAW สมการการเคลื่อนที่ในระบบพิกัดต่าง ๆ - พิกัดฉาก (x-y) - พิกัดตั้งฉาก-สัมผัส (n-t) - พิกัดโพลา (r-q)

S F = ma S F = a m S F ความเร่ง a = d v d t S F = ma = d v d t m y m d (mv) d t = L = mv m a โมเมนตัมเชิงเส้น L = mv S F S F = d L d t o x

กฎข้อที่สองของนิวตัน x y o S F a ax ay S Fy S Fx S F = ma พิกัดฉาก (x - y) S Fx = max S Fy = may

พิกัดตั้งฉาก-สัมผัส (n - t) กฎข้อที่สองของนิวตัน S F = ma y at S Fn พิกัดตั้งฉาก-สัมผัส (n - t) a S Ft = mat = mdv dt S F an S Ft S Fn = man = m v2 r o x

. .. .. . กฎข้อที่สองของนิวตัน พิกัดโพลา (r - q) S F = ma ar y S Fq a S Fr = mar S F = m( r – rq2) .. . aq S Fr r q S Fq = maq o = m( r q + 2rq) .. . x

Example วัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร่งคงที่ตามราง AB ซึ่งยาว 2 m ทำมุมกับแนวระดับ 30o ที่จุด A วัตถุมีความเร็ว 0.4 m/s ที่จุด B วัตถุมีความเร็ว 0.9 m/s จงหาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างวัตถุกับราง AB 2 m A 30o B

Problem วัตถุเคลื่อนที่ตามถนนซึ่งเป็นส่วนโค้งของวงกลมในแนวดิ่งมีรัศมี 1.8 m จงหาความเร็วสูงสุดที่วัตถุจะสามารถเคลื่อนที่ผ่านจุดบนสุดของถนนไปได้โดยไม่หลุดจากพื้น v

Problem ในการใช้สายพานลำเลียงชิ้นส่วนไปปล่อยลงกล่อง ถ้าสายพานมีความเร็วคงที่ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างสายพานและกล่องเป็น ที่มุม ที่ชิ้นส่วนจะไถลจากสายพานตกลงสู่กล่อง จงพิสูจน์ว่า

Problem ท่อทรงกระบอก C มวล 2 kg ถูกสวมไว้กับแกน OA ที่จุด P ให้กลิ้งในแนวระดับ ถ้าแกน OAแกว่งด้วยความเร็วเชิงมุมคงที่ จงหาแรงที่แกน OA กระทำต่อท่อ C เมื่อ เป็น 60o O 0.4 m C P A

Problem แกน OA หมุนรอบจุด O ด้วยความเร็วเชิงมุมคงที่ มวล m วางอยู่บนแกน OA โดยที่ เมื่อ มวล m จะ เริ่มไถลไปบนแกน OA จงหาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตย์ระหว่างมวล m กับแกน OA A m O

Problem ที่มวล A 30 kg มีมวล B 5 kg ห้อยติดอยู่ด้วยเชือก ถ้ามวลทั้งสองเคลื่อนที่ไปด้วยกัน โดยที่มวล A เคลื่อนที่ไปตามรางแนวระดับโดยไม่มีแรงเสียดทาน และเชือกที่ยึดมวล B เอียงเป็นมุมคงที่ 20o กับแนวดิ่ง จงหาแรง F ที่กระทำที่มวล A ในแนวระดับ F A 20o B

Problem รถคันหนึ่งวิ่งเลี้ยวบนถนนที่เอียง 30o กับแนวระดับ ด้วยรัศมีความโค้งในการเลี้ยว 300 m ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตย์ระหว่างรถกับพื้นถนนเป็น 0.9 จงหาความเร็วสูงสุดที่รถจะวิ่งเลี้ยวไปได้โดยไม่ไถลไปด้านข้าง 300 m 30o

Problem ขณะยิงลูกปืนมวล 60 g กระบอกปืนหมุนในระนาบแนวระดับรอบแกน z ด้วยความเร็วเชิงมุมคงที่ 0.5 rad/s ถ้าขณะที่ลูกปืนออกจากกระบอกปืนที่จุด A มีความเร็ว = 600 m/s จงหาขนาดและทิศทางของแรงที่กระบอกปืนกระทำต่อลูกปืนที่จุด A z A

Problem ใช้แขนกลเคลื่อนย้ายมวล 2 kg ในระนาบแนวดิ่ง ขณะที่ = 30o ความเร็วเชิงมุมของแขนรอบจุด O เป็น 50 deg/s ในทิศตามเข็ม ความเร่งเชิงมุมเป็น 200 deg/s2 ในทิศทวนเข็ม และแขนกลหดเข้าด้วยความเร็วคงที่ 500 mm/s ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างมวลกับที่จับเป็น 0.5 จงหาแรง P ที่น้อยที่สุดที่ต้องใช้ในการจับมวลไว้ไม่ให้ตก P 1 m P O