เฉลยแบบฝึกหัดเตรียมความพร้อมก่อนเรียน บทที่ 3 Consumer Behavior

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวแบบเส้นความพอใจเท่ากัน(indifference curve)
Advertisements

บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
ระบบฐานข้อมูล ใน Microsoft Access
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ผลการเบิกจ่าย งบประมาณ สสพ.1 ณ 18 เมษายน สรุปผลเบิกจ่าย ณ 18 เม. ย. 55 ได้รับเบิกจ่ายร้อยละ พระราชดำริ (6 เดือนแรก ) 31,0003,416 พระราชดำริ (6 เดือนหลัง.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
บทที่ 13 นโยบายและกลยุทธ์การตั้งราคาโดย ผู้ค้าคนกลาง
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
อุปสงค์ ( demand ) อุปทาน ( supply )
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
คำแนะนำ นายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ. ศ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
เงินเฟ้อ Inflation.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
บทเรียนโปรแกรมเพื่อการทบทวน
การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
ACCOUNTING FOR INVENTORY
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
โครงการเพิ่มศักยภาพด้านการตลาดผลิตภัณฑ์ไหมนครชัยบุรินทร์ในกลุ่มอาเซียน
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
บทที่ 6 การปันส่วนต้นทุนและต้นทุนฐานกิจกรรม
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
State Table ตารางสถานะ ปรับปรุง 18 เมษายน 2562
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่ 1 การวางแผนการปฏิบัติงานสำหรับงานขนส่ง
การหักเหของแสง การหักเหของแสง คือ การที่แสงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งที่มีความหนาแน่นต่างกันจะทำให้แสงมีความเร็วต่างกันส่งผลให้ทิศทางของแสงเปลี่ยนแปลงไป.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
Catering SER 3102 วิชาการจัดเลี้ยง.
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
บทสรุป ความหมายของ Query ความหมายของ Query
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
Chapter 7 การพยากรณ์ (Forecasting) Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
Chapter 3 : Array.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
เศษส่วนและทศนิยม.
AGENDA การเลือกแบบฟอร์มใบขอซื้อขอจ้าง ขั้นตอนการค้นหา PR และ PO
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
ประชุมชี้แจงการจัดทำงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เฉลยแบบฝึกหัดเตรียมความพร้อมก่อนเรียน บทที่ 3 Consumer Behavior

โดนัลมีรายได้ 80 บาท/สัปดาห์ โดนัลเลือกซื้อสินค้า 2 ชนิดคือ ช่วยโดนัลคิดหน่อย โดนัลมีรายได้ 80 บาท/สัปดาห์ โดนัลเลือกซื้อสินค้า 2 ชนิดคือ เสื้อผ้า (C) กับ อาหาร (F) เสื้อผ้าราคาตัวละ 2 บาท อาหารราคาจานละ 1 บาท โดนัล คำถาม Q1. จากรายได้ที่มีอยู่ โดนัลจะสามารถซื้ออาหาร กับเสื้อผ้า เท่าไหร่ได้บ้างใน 1สัปดาห์ Q2. ขอให้ น.ศ.แสดงเส้นงบประมาณของโดนัล และแสดงความชันของเส้นงบประมาณ

A1. อาหารราคาจานละ 1 บาท เสื้อผ้าราคาตัวละ 2 บาท รายได้ 80 บาท จะซื้อได้หลายวิธีดังนี้ Market Basket Units of Food Units of Clothing Total Spending A 40 80 B 20 30 80 D 40 20 80 E 60 10 80 G 80 0 80 Table A Market Baskets (bundles) and Budget Line

A2. จากรายได้ 80 บาท อาหารราคาจานละ 1 บาท เสื้อผ้าราคาตัวละ 2 บาท Slope ? = - (PF/PC) = -1/2 เสื้อผ้า (C) อาหาร (F) เส้นงบประมาณของโดนัล (I/PC) = 40 80 = (I/PF)

Q3. The Budget Line คืออะไร ? A3. The Budget Line คือ เส้นที่บอกให้เรารู้ถึงส่วนประกอบต่างๆกันของสินค้าตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปที่ผู้บริโภคสามารถซื้อได้ด้วยเงินงบประมาณจำนวนเดียวกัน

Q4. หากรายได้เพิ่มเป็น 160 บาท, หรือ ลดเป็น 40 บาท A4. เสื้อผ้า (C) I=160 (I/PC) = 80 160 = (I/PF) I=40 40 I=160 ความชันไม่เปลี่ยนแปลง คือ = - (PF/PC) = -1/2 I=80 20 I=40 40 80 อาหาร (F)

Q5. ราคาอาหาร ลดเหลือ 1/2 บาท ,หรือ เพิ่มเป็น 2บาท A5. PF= 1/2 => Slope = - (PF/PC) = - 0.25 เสื้อผ้า (C) PF= 2 => Slope = - (PF/PC) = - 1 40 PF= 1/2 PF= 2 PF= 1 40 80 160 อาหาร (F)

สรุปคุณสมบัติ 3 ข้อของ Budget Line A6. สรุปคุณสมบัติ 3 ข้อของ Budget Line เส้นงบประมาณมีความชันเป็นลบ โดยปกติเส้นงบประมาณที่เคลื่อนไปทางทิศอีสาน คือเส้นที่มีงบประมาณสูงขึ้น ถ้าราคาสินค้า หรือ รายได้เปลี่ยนแปลงเส้นงบประมาณจะเปลี่ยนแปลงด้วย

Indifference Curve (IC) คือ เส้นที่แสดงส่วนประกอบของสินค้าตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปที่ให้ความพอใจในระดับที่เท่ากันแก่ผู้บริโภค A7. คุณสมบัติเส้น IC เส้น IC ที่สูงกว่าให้ความพอใจมากกว่าเส้นที่อยู่ต่ำกว่า โค้งจากซ้ายไปขวา เว้าเข้าหาจุดกำเนิด ไม่ตัดกัน ส่วนประกอบทื่ให้ความพอใจเท่ากันมีจำนวนนับไม่ถ้วน สินค้า Y IC3 IC2 IC1 สินค้า X

The marginal rate of substitution (MRS) ของสินค้า 2 ชนิด คือ จำนวนสินค้าหนึ่ง(บนแกน Y) ที่ผู้บริโภคยินดีเสียสละไป เพื่อแลกกับหนึ่งหน่วยของสินค้าอีกชนิดหนึ่ง(บนแกน X) โดยไม่ทำให้ความพอใจเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม MRSXY คือ อัตราการใช้ สินค้า X แทน Y MRSXY = DY/DX