Chapter3 : Data Model Class on 23 and 24 Nov 10

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
Advertisements

การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
System Database Semester 1, 2009 Worrakit Sanpote 1.
Entity-Relationship Model E-R Model
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
Pro/Desktop.
Database & DBMS Architecture วรวิทย์ พูลสวัสดิ์. 2 2 ฐานข้อมูล (Database) - Data and its relation - Databases are designed to offer an organized mechanism.
Database Management System
MS-Access. SQL สามารถเรียกใช้ฐานข้อมูล ได้ทุกค่าย Access MySQL Foxpro DBF DB2Oracle MS SQL.
ระบบ ฐานข้อมูล (Database). ระบบฐานข้อมูล หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศที่ประกอบด้วย รายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันที่ จะนำมาใช้ในระบบต่าง ๆ ร่วมกัน ระบบฐานข้อมูล.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การสร้างฐานข้อมูลใหม่ หมายถึง การสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่บน Access สามารถกำหนด ได้ดังต่อไปนี้ ภาพแสดงการสร้างฐานข้อมูลใหม่
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ฐานข้อมูล.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
การทำ Normalization 14/11/61.
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
Content Team: คู่มือการป้องกันสินค้าลอกเลียนแบบ 9 July 2015
บทที่ 11 การเขียนแผนผังข้อมูลแบบสัมพัทธ์.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
การบริหารโครงการ Project Management
บทที่ 3 แบบจำลองข้อมูล Data Models
บทที่ 3 เทคนิคการจัดทำเอกสาร ของระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 11 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
The Collections Framework
การสร้างฟอร์มย่อย การสร้างฟอร์มย่อยและรายงานย่อย
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
การใช้งานเครื่องมือพื้นฐานของ BI
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
Project Project (โครงงาน) ปริญญานิพนธ์ กิจกรรมซึ่งดำเนินงานตามลำดับ
Chapter 3 Executive Information Systems : EIS
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
CIT2205 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการฐานข้อมูล
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
Object-Oriented Programming การเขียนโปรแกรมเชิงอ็อบเจ็กต์
คุณสมบัติเชิงวัตถุ Chapter 6 Edit
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
Application of Software Package in Office
อาจารย์ณัฐภัทร แก้วรัตนภัทร์ วท.ม.,วท.บ.เกียรตินิยมอันดับ1
SMS News Distribute Service
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
การแก้ไขข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างตาราง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ตัวแบบข้อมูล (Data Modeling)
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แบบภาษาเชิงวัตถุ
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
Chapter 7 : ขั้นตอนการแปลงแผนภาพ ER มาเป็นรีเลชั่น ( ER-to-Relational Mapping Algorithm ) อ.คเชนทร์ ซ่อนกลิ่น.
การเขียนเว็บ Web Editor
Database Design & Development
Class Diagram.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
[ บทที่ 2 ] กรอกแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter3 : Data Model Class on 23 and 24 Nov 10 Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 1 Database for Education ระบบฐานข้อมูล Database Systems Chapter3 : Data Model Class on 23 and 24 Nov 10

Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 2 Database for Education แบบจำลองข้อมูล แบบจำลองข้อมูล (Data Model) คือ เครื่องมือในเชิงแนวความคิดที่ใช้ในการอธิบายข้อมูล โครงสร้างข้อมูล ความสัมพันธ์ของข้อมูล ความหมายของข้อมูล และเงื่อนไขบังคับความสอดคล้องกันของข้อมูล

แบบจำลองข้อมูล แบบจำลองอี-อาร์ (E-R Model) ประกอบไปด้วย Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 3 Database for Education แบบจำลองข้อมูล แบบจำลองอี-อาร์ (E-R Model) ประกอบไปด้วย เอนทิตี (Entity) หมายถึง วัตถุ (Object) หรือแนวคิดที่สามารถบอกความแตกต่างระหว่างเอนทิตีได้ เช่น เอนทิตีเชตของนักเรียน รีเลชันชิพเซต (Relationship set) คือความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี เช่นความสัมพันธ์ของเอนทิตีพนักงานกับเอนทิตีรถยนต์คือ “ขับ”

Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 4 Database for Education แบบจำลองข้อมูล แบบจำลองอี-อาร์ (E-R Model) จะถูกแสดงด้วยแผนผังอี-อาร์ (E-R Diagram) โดยมีสัญลักษณ์ดังนี้ รูปสี่เหลี่ยม ใช้แทนเอนทิตีเซต (Entity Set) รูปวงรี ใช้แทนแอตทริบิวต์ (Attributes) รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ใช้แทนรีเลชันชิพ เส้นตรง ใช้แทนการเชื่อมต่อของแอตทริบิวต์กับเอนทิตีเซต และการเชื่อมต่อของเอนทิตีเซตกับรีเลชันชิพ

แผนผังอี-อาร์ (E-R Diagram) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 5 Database for Education แผนผังอี-อาร์ (E-R Diagram) รหัสลูกค้า ชื่อ ที่อยู่ เลขที่ใบเสร็จ ชื่อสินค้า วันที่ ลูกค้า ใบเสร็จ มี ยอดรวม

ชนิดของความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์แบบวัน-ทู-วัน (One-to-One ; 1:1) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 6 Database for Education ชนิดของความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์แบบวัน-ทู-วัน (One-to-One ; 1:1) นักศึกษา บัตรนักศึกษา มี 1 อาจารย์ สาขาวิชา เป็นประธาน 1

ชนิดของความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์แบบวัน-ทู-เมนนี (One-to-Many ; 1:M) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 7 Database for Education ชนิดของความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์แบบวัน-ทู-เมนนี (One-to-Many ; 1:M) อาจารย์ นักศึกษา เป็นที่ปรึกษา 1 M แม่ ลูก มี 1 M

ชนิดของความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์แบบเมนนี-ทู-เมนนี (Many-to-Many ; M:N) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 8 Database for Education ชนิดของความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์แบบเมนนี-ทู-เมนนี (Many-to-Many ; M:N) นักศึกษา รายวิชา ลงทะเบียน M N สินค้า ใบส่งของ มี M N

Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 9 Database for Education แบบจำลองเชิงแนวคิด แบบจำลองฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Database Model) แบบจำลองฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database Model) แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Model) แบบจำลองฐานข้อมูลแบบออบเจกต์ (Object-Oriented Database Model)

แบบจำลองฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Database Model) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 10 Database for Education แบบจำลองฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Database Model) โครงสร้างของฐานข้อมูลเป็นความสัมพันธ์แบบพ่อแม่ลูก คล้ายต้นไม้ (Tree) กลับหัว เรคอร์ดพ่อแม่มีเรคอร์ดลูกได้หลายเรคอร์ด แต่เรคอร์ดลูกมี เรคอร์ดพ่อแม่ได้เพียงเรคอร์ดเดียว แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตีโดยการใช้พอยน์เตอร์ (Pointer)

แบบจำลองฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Database Model) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 11 Database for Education แบบจำลองฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Database Model) ลักษณะเด่น เป็นระบบฐานข้อมูลที่มีโครงสร้างซับซ้อนน้อยที่สุด มีค่าใช้จ่ายในการจัดสร้างฐานข้อมูลน้อย ลักษณะโครงสร้างเข้าใจง่าย เหมาะสำหรับงานที่ต้องการค้นหาข้อมูลแบบมีเงื่อนไขเป็นลำดับ ป้องกันระบบความลับของข้อมูลได้ดี เพราะต้องอ่านแฟ้มที่เป็นต้นกำเนิดก่อน

แบบจำลองฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Database Model) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 12 Database for Education แบบจำลองฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Database Model) ข้อจำกัด มีโอกาสเกิดความซ้ำซ้อนมากที่สุด ขาดความสัมพันธ์ระหว่างแฟ้มข้อมูลในรูปของเครือข่าย มีความคล่องตัวน้อยกว่า เพราะต้องอ่านแฟ้มที่เป็นต้นกำเนิดก่อน

แบบจำลองฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database Model) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 13 Database for Education แบบจำลองฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database Model) โครงสร้างของข้อมูลมีความสัมพันธ์แบบร่างแห แก้ปัญหาของความสัมพันธ์แบบ M:N ในแบบจำลองลำดับชั้น วิธีการค่อนข้างซับซ้อน ต้องเข้าใจโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลทางกายภาพเป็นอย่างดี ไม่มีความเป็นอิสระต่อโปรแกรมและข้อมูล

แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Model) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 14 Database for Education แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Model) แบบจำลองที่มีการใช้งานอย่างแพร่หลาย โครงสร้างข้อมูลแสดงในรูปแบบตาราง (Table) แต่ละตารางประกอบด้วยแถวหรือทัปเพิล (Tuple) แต่ละทัปเพิลจะประกอบด้วยหลายแอตทริบิวต์ (Attributes) มีระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (RDBMS)

แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (ต่อ) (Relational Database Model) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 15 Database for Education แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (ต่อ) (Relational Database Model) ซ่อนความซับซ้อนของระบบไว้ภายใน ไม่ยุ่งยากซับซ้อนเหมือนฐานข้อมูลลำดับชั้นหรือเครือข่าย เกิดความเป็นอิสระกับข้อมูล และเป็นอิสระกับโครงสร้าง ภาษา Structured Query Language (SQL) ง่ายต่อการออกแบบ สร้างรายงาน แสดงส่วนของข้อมูลเข้าและออก

แบบจำลองฐานข้อมูลแบบออบเจกต์ (Object Database Model) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 16 Database for Education แบบจำลองฐานข้อมูลแบบออบเจกต์ (Object Database Model) ฐานข้อมูลแบบออบเจกต์ ประกอบด้วยคลาส (Class) คลาส คือชุดของออบเจกต์ที่มีโครงสร้างและพฤติกรรมเดียวกัน โครงสร้างของออบเจกต์ถูกกำหนดโดยใช้พรอปเพอร์ตี (Property) ของคลาส พฤติกรรมของออบเจกต์จะถูกกำหนดโดยการใช้เมธอด (Method)

แบบจำลองฐานข้อมูลแบบออบเจกต์ (ต่อ) (Object Database Model) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 17 Database for Education แบบจำลองฐานข้อมูลแบบออบเจกต์ (ต่อ) (Object Database Model) เมธอด คือกระบวนการในการติดต่อกับออบเจกต์ให้ทำตามที่เราต้องการ ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรู้วิธีการทำงานภายในของแต่ละเมธอด ซ่อนรายละเอียด ทำให้ง่ายกับผู้ใช้งาน

Questions : Any questions ? Database for Education Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 18 Database for Education Questions : Any questions ?