Chapter3 : Data Model Class on 23 and 24 Nov 10 Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 1 Database for Education ระบบฐานข้อมูล Database Systems Chapter3 : Data Model Class on 23 and 24 Nov 10
Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 2 Database for Education แบบจำลองข้อมูล แบบจำลองข้อมูล (Data Model) คือ เครื่องมือในเชิงแนวความคิดที่ใช้ในการอธิบายข้อมูล โครงสร้างข้อมูล ความสัมพันธ์ของข้อมูล ความหมายของข้อมูล และเงื่อนไขบังคับความสอดคล้องกันของข้อมูล
แบบจำลองข้อมูล แบบจำลองอี-อาร์ (E-R Model) ประกอบไปด้วย Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 3 Database for Education แบบจำลองข้อมูล แบบจำลองอี-อาร์ (E-R Model) ประกอบไปด้วย เอนทิตี (Entity) หมายถึง วัตถุ (Object) หรือแนวคิดที่สามารถบอกความแตกต่างระหว่างเอนทิตีได้ เช่น เอนทิตีเชตของนักเรียน รีเลชันชิพเซต (Relationship set) คือความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี เช่นความสัมพันธ์ของเอนทิตีพนักงานกับเอนทิตีรถยนต์คือ “ขับ”
Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 4 Database for Education แบบจำลองข้อมูล แบบจำลองอี-อาร์ (E-R Model) จะถูกแสดงด้วยแผนผังอี-อาร์ (E-R Diagram) โดยมีสัญลักษณ์ดังนี้ รูปสี่เหลี่ยม ใช้แทนเอนทิตีเซต (Entity Set) รูปวงรี ใช้แทนแอตทริบิวต์ (Attributes) รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ใช้แทนรีเลชันชิพ เส้นตรง ใช้แทนการเชื่อมต่อของแอตทริบิวต์กับเอนทิตีเซต และการเชื่อมต่อของเอนทิตีเซตกับรีเลชันชิพ
แผนผังอี-อาร์ (E-R Diagram) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 5 Database for Education แผนผังอี-อาร์ (E-R Diagram) รหัสลูกค้า ชื่อ ที่อยู่ เลขที่ใบเสร็จ ชื่อสินค้า วันที่ ลูกค้า ใบเสร็จ มี ยอดรวม
ชนิดของความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์แบบวัน-ทู-วัน (One-to-One ; 1:1) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 6 Database for Education ชนิดของความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์แบบวัน-ทู-วัน (One-to-One ; 1:1) นักศึกษา บัตรนักศึกษา มี 1 อาจารย์ สาขาวิชา เป็นประธาน 1
ชนิดของความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์แบบวัน-ทู-เมนนี (One-to-Many ; 1:M) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 7 Database for Education ชนิดของความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์แบบวัน-ทู-เมนนี (One-to-Many ; 1:M) อาจารย์ นักศึกษา เป็นที่ปรึกษา 1 M แม่ ลูก มี 1 M
ชนิดของความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์แบบเมนนี-ทู-เมนนี (Many-to-Many ; M:N) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 8 Database for Education ชนิดของความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์แบบเมนนี-ทู-เมนนี (Many-to-Many ; M:N) นักศึกษา รายวิชา ลงทะเบียน M N สินค้า ใบส่งของ มี M N
Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 9 Database for Education แบบจำลองเชิงแนวคิด แบบจำลองฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Database Model) แบบจำลองฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database Model) แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Model) แบบจำลองฐานข้อมูลแบบออบเจกต์ (Object-Oriented Database Model)
แบบจำลองฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Database Model) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 10 Database for Education แบบจำลองฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Database Model) โครงสร้างของฐานข้อมูลเป็นความสัมพันธ์แบบพ่อแม่ลูก คล้ายต้นไม้ (Tree) กลับหัว เรคอร์ดพ่อแม่มีเรคอร์ดลูกได้หลายเรคอร์ด แต่เรคอร์ดลูกมี เรคอร์ดพ่อแม่ได้เพียงเรคอร์ดเดียว แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตีโดยการใช้พอยน์เตอร์ (Pointer)
แบบจำลองฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Database Model) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 11 Database for Education แบบจำลองฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Database Model) ลักษณะเด่น เป็นระบบฐานข้อมูลที่มีโครงสร้างซับซ้อนน้อยที่สุด มีค่าใช้จ่ายในการจัดสร้างฐานข้อมูลน้อย ลักษณะโครงสร้างเข้าใจง่าย เหมาะสำหรับงานที่ต้องการค้นหาข้อมูลแบบมีเงื่อนไขเป็นลำดับ ป้องกันระบบความลับของข้อมูลได้ดี เพราะต้องอ่านแฟ้มที่เป็นต้นกำเนิดก่อน
แบบจำลองฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Database Model) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 12 Database for Education แบบจำลองฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Database Model) ข้อจำกัด มีโอกาสเกิดความซ้ำซ้อนมากที่สุด ขาดความสัมพันธ์ระหว่างแฟ้มข้อมูลในรูปของเครือข่าย มีความคล่องตัวน้อยกว่า เพราะต้องอ่านแฟ้มที่เป็นต้นกำเนิดก่อน
แบบจำลองฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database Model) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 13 Database for Education แบบจำลองฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database Model) โครงสร้างของข้อมูลมีความสัมพันธ์แบบร่างแห แก้ปัญหาของความสัมพันธ์แบบ M:N ในแบบจำลองลำดับชั้น วิธีการค่อนข้างซับซ้อน ต้องเข้าใจโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลทางกายภาพเป็นอย่างดี ไม่มีความเป็นอิสระต่อโปรแกรมและข้อมูล
แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Model) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 14 Database for Education แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Model) แบบจำลองที่มีการใช้งานอย่างแพร่หลาย โครงสร้างข้อมูลแสดงในรูปแบบตาราง (Table) แต่ละตารางประกอบด้วยแถวหรือทัปเพิล (Tuple) แต่ละทัปเพิลจะประกอบด้วยหลายแอตทริบิวต์ (Attributes) มีระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (RDBMS)
แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (ต่อ) (Relational Database Model) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 15 Database for Education แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (ต่อ) (Relational Database Model) ซ่อนความซับซ้อนของระบบไว้ภายใน ไม่ยุ่งยากซับซ้อนเหมือนฐานข้อมูลลำดับชั้นหรือเครือข่าย เกิดความเป็นอิสระกับข้อมูล และเป็นอิสระกับโครงสร้าง ภาษา Structured Query Language (SQL) ง่ายต่อการออกแบบ สร้างรายงาน แสดงส่วนของข้อมูลเข้าและออก
แบบจำลองฐานข้อมูลแบบออบเจกต์ (Object Database Model) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 16 Database for Education แบบจำลองฐานข้อมูลแบบออบเจกต์ (Object Database Model) ฐานข้อมูลแบบออบเจกต์ ประกอบด้วยคลาส (Class) คลาส คือชุดของออบเจกต์ที่มีโครงสร้างและพฤติกรรมเดียวกัน โครงสร้างของออบเจกต์ถูกกำหนดโดยใช้พรอปเพอร์ตี (Property) ของคลาส พฤติกรรมของออบเจกต์จะถูกกำหนดโดยการใช้เมธอด (Method)
แบบจำลองฐานข้อมูลแบบออบเจกต์ (ต่อ) (Object Database Model) Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 17 Database for Education แบบจำลองฐานข้อมูลแบบออบเจกต์ (ต่อ) (Object Database Model) เมธอด คือกระบวนการในการติดต่อกับออบเจกต์ให้ทำตามที่เราต้องการ ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรู้วิธีการทำงานภายในของแต่ละเมธอด ซ่อนรายละเอียด ทำให้ง่ายกับผู้ใช้งาน
Questions : Any questions ? Database for Education Suwanit Rungratri : Computer Education : ARU 18 Database for Education Questions : Any questions ?