คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

สื่อการสอน เรื่องการบวก ลบ คูณ หาร ระคน
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
ความน่าจะเป็น Probability.
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Probability & Statistics
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
ตัวอย่างที่ 2.16 วิธีทำ จากตาราง.
การนับเบื้องต้น Basic counting
โดย มิสกรรณกา หอมดวงศรี
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
กราฟความสัมพันธ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
การบ้าน แซมเปิลสเปซ.
การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน
Lab 7: เกมไพ่จับคู่ (อีกรอบ)
การดำเนินการเกี่ยวกับเซต
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
กฏเกณฑ์นับเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
แฟกทอเรียลและการเรียงสับเปลี่ยน
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การดำเนินการระหว่างเหตุการณ์
ครูชำนาญ ยันต์ทอง โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค คณิตศาสตร์พื้นฐาน.
บทที่ 9 พอยเตอร์. สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ
การสอน ทางไกลผ่าน ดาวเทียมไกล กังวล พิธาน พื้นทอง ผู้อำนวยการสำนักพัฒนานวัตกรรมการจัด การศึกษา สพฐ.
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การแก้โจทย์ปัญหาเซตจำกัด 2 เซต
หน่วยที่ 6 ความน่าจะเป็น โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ปัญหา คิดสนุก.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ยูเนี่ยนและอินเตอร์เซคชันของเหตุการณ์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
มนุษย์รู้จักใช้การให้เหตุผล เพื่อสนับสนุนความเชื่อ หรือเพื่อหาความจริง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
ครูศรีวรรณ ปานสง่า สิทธิของพลเมืองไทย ตามรัฐธรรมนูญ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
พื้นฐานความน่าจะเป็น Basic Probability
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวังไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค 33101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 2.3) ความน่าจะเป็น ของเหตุการณ์ (ต่อ)

ตัวอย่างที่ 2 หยิบลูกบอล 2 ลูก พร้อมกัน จากถุงใบหนึ่ง ซึ่งมีลูกบอลสีเขียว 2 ลูก และสีแดง 3 ลูก ด1 ข1 ด2 ด3 ข2

จงหาความน่าจะเป็น ของเหตุการณ์ ต่อไปนี้ เหตุการณ์ที่จะหยิบได้ลูกบอลสีเดียวกัน เหตุการณ์ที่จะหยิบได้ลูกบอลต่างสีกัน

ข1 แทนลูกบอลสีเขียวลูกที่ หนึ่ง ข2 แทนลูกบอลสีเขียวลูกที่ สอง แนวคิด กำหนดให้ ข1 แทนลูกบอลสีเขียวลูกที่ หนึ่ง ข2 แทนลูกบอลสีเขียวลูกที่ สอง ด1 แทนลูกบอลสีแดงลูกที่ หนึ่ง ด2 แทนลูกบอลสีแดงลูกที่ สอง ด3 แทนลูกบอลสีแดงลูกที่ สาม

หาผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทดลองสุ่ม โดยใช้แผนภาพต้นไม้ ดังนี้ ข1ข2 ด1 ด2 ด3 ข2 ข1ด1 ข1 ข1ด2 ข1ด3

ข2ด1 ด1 ด2 ด3 ข2ด2 ข2 ข2ด3

ด1ด2 ด2 ด3 ด1 ด1ด3 ด2ด3 ด2

ผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทดลองสุ่ม คือ ข1ข2 , ข1ด1 , ข1ด2 , ข1ด3 ข2ด1 , ข2ด2 , ข2ด3 ด1ด2 , ด1ด3 และ ด2ด3 จะได้ จำนวนผลลัพธ์ทั้งหมดที่เกิดขึ้น เป็น 10

1 = = 0.4 ข1ข2 , ด1ด2 , ด1ด3 และ ด2ด3 4 10 เหตุการณ์ที่จะหยิบได้ลูกบอล สีเดียวกันมีผลลัพธ์ คือ ข1ข2 , ด1ด2 , ด1ด3 และ ด2ด3 จะได้ จำนวนผลลัพธ์ของเหตุการณ์นี้ = 4 ความน่าจะเป็นของ เหตุการณ์ที่จะหยิบได้ ลูกบอลสีเดียวกัน 4 10 ดังนั้น = = 0.4

2 = = 0.6 6 10 เหตุการณ์ที่จะหยิบได้ลูกบอล ต่างสีกัน มีผลลัพธ์ คือ ข1ด1 , ข1ด2 , ข1ด3 , ข2ด1 , ข2ด2 และ ข2ด3 จะได้ จำนวนผลลัพธ์ของเหตุการณ์นี้ = 6 ความน่าจะเป็นของ เหตุการณ์ที่จะหยิบได้ ลูกบอลต่างสีกัน 6 10 ดังนั้น = = 0.6

ไพ่ เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้เป็นสื่อ ในการศึกษา เรื่อง ความน่าจะเป็น ไพ่ 1 สำรับ มีจำนวนไพ่ทั้งหมด 52 ใบ แบ่งเป็น 4 ชุด ได้แก่ ชุดโพดำ โพแดง ดอกจิก และข้าวหลามตัด ไพ่แต่ละชุด มี 13 ใบ

= = 0.07 4 52 จากการทดลองสุ่มหยิบไพ่ 1 ใบ จากการทดลองสุ่มหยิบไพ่ 1 ใบ จากไพ่ทั้งสำรับหนึ่ง จะได้ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่าง ๆ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ - ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่จะหยิบไพ่ 1 ใบ ให้แต้ม 6 4 52 = = 0.07

- ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่จะหยิบไพ่ 1 ใบ ให้ได้ไพ่ดอกจิก 13 52 1 4 = = = 0.25 - ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่จะหยิบไพ่ 1 ใบ ให้ได้ไพ่สีแดง 26 52 = = 0.5

ตัวอย่างที่ 3 หยิบไพ่ 2 ใบ จากไพ่ 4 ใบ ซึ่งประกอบด้วย K โพดำ, K โพแดง, K ดอกจิก, K ข้าวหลามตัด จงหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ ต่อไปนี้ หยิบไพ่ 2 ใบพร้อมกัน ให้ได้ไพ่ สีเดียวกัน

ผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ จากการหยิบไพ่ 2 ใบ พร้อมกัน คือ วิธีทำ ผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ จากการหยิบไพ่ 2 ใบ พร้อมกัน คือ (Kโพดำ, Kโพแดง) , (Kโพดำ, Kดอกจิก) , (Kโพดำ, Kข้าวหลามตัด) , (Kโพแดง, Kดอกจิก) , (Kโพแดง, Kข้าวหลามตัด), (Kดอกจิก, Kข้าวหลามตัด) (6 แบบ)

จะได้ จำนวนผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะ เกิดขึ้นได้ เป็น 6 จะได้ จำนวนผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะ เกิดขึ้นได้ เป็น 6 เหตุการณ์ที่จะหยิบไพ่ 2 ใบ พร้อมกัน ให้ ได้ไพ่สีเดียวกัน มีผลลัพธ์ 2 อย่าง คือ (Kโพดำ, Kดอกจิก) สีดำเหมือนกัน (Kโพแดง, Kข้าวหลามตัด) สีแดงเหมือนกัน

= = 0.33 2 6 จะได้ จำนวนผลลัพธ์ของเหตุการณ์เป็น 2 ดังนั้น ความน่าจะเป็นของ เหตุการณ์ที่จะหยิบไพ่ 2 ใบ พร้อมกันให้ได้ไพ่สีเดียวกัน 2 6 = = 0.33