ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
Advertisements

2.5 Field of a sheet of charge
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
Welcome to Electrical Engineering KKU.
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
อสมการ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
ให้นักศึกษาลองดู Example 8.10 และ 8.11 ประกอบ
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
CHAPTER 17 FOURIER SERIES
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
Decision Tree Analysis
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
สื่อการสอนเรื่องแรงบนตัวนำ
การตวง ความหมายของการตวง -    การตวง    คือ    การวัดปริมาณของสิ่งของต่างๆหรือหาความจุของภาชนะต่างๆ เครื่องตวง -    เครื่องที่เป็นมาตรฐาน    เช่น   
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 4 Circuit Theorems
Sinusoidal Steady-State Analysis
Equilibrium of a Particle
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
ทบทวนอสมการกำลัง1. ทบทวนอสมการกำลัง1 การหาเซตคำตอบของอสมการ ตัวอย่าง.
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
Electrical Circuit Analysis 2
Sinusiodal Steady-State Analysis
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
บทที่ 4 ตัวแบบควบคู่ และการวิเคราะห์ความไว (Dual Problem and Sensitivity Analysis) Operations Research โดย อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล.
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
การวิเคราะห์แบบลูป ตอนที่ ๑ การวิเคราะห์ลูปแบบทั่วไป
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
พาราโบลา (Parabola).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด

บทนำ การวิเคราะห์ลูปคือการใช้กฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์รอบๆ แต่ละลูปปิดเพื่อสร้างสมการพีชคณิต การวิเคราะห์โนดคือการใช้กฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์เพื่อสร้างสมการ โนดคือจุดต่อของบรานซ์จำนวน 2 บรานซ์ขึ้นไป โนดอ้างอิงคือโนดที่มีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์หรือกราวด์ วงจรไฟฟ้าที่มี N โนดจะมี (N-1) โนดที่มีศักย์ไฟฟ้าคงที่เมื่อเปรียบเทียบกับโนดอ้างอิงที่กำหนดไว้

การวิเคราะห์โนดแบบทั่วไป (General Approach Nodal Analysis) หาจำนวนของโนดในวงจรไฟฟ้า เลือกโนดอ้างอิงและเขียนตัวห้อยกำกับแรงดันของโนดที่เหลือเช่น V1, V2, V3 เป็นต้น สมมติทิศทางของกระแสในแต่ละบรานซ์ ใช้กฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ที่แต่ละโนด ยกเว้นโนดอ้างอิง แก้ปัญหาของสมการพีชคณิตเชิงเส้นเพื่อหาค่าแรงดันที่โนด

V V

การวิเคราะห์โนดชนิดเป็นรูปแบบ (Format Approach Nodal Analysis) เทอมร่วมในสมการ ซึ่งจะต้องลบออกจากคอลัมน์แรกเสมอ โดยเทอมร่วมอาจมีมากกว่า 1 เทอม ขึ้นอยู่กับจำนวนของความนำที่ต่อระหว่างโนดที่กำลังพิจารณากับโนดอื่นๆ ในวงจร โดยแต่ละเทอมร่วมคือผลคูณของความนำร่วมกับแรงดันโนดที่ปลายอีกข้างหนึ่งของความนำร่วม

4. คอลัมน์ทางด้านขวามือของสมการมีค่าเท่ากับผลรวมทางพีชคณิตของแหล่งจ่ายกระแสที่ต่ออยู่กับโนดที่กำลังพิจารณา โดยกำหนดให้มีค่าเป็นบวกถ้ากระแสจากแหล่งจ่ายกระแสนั้นไหลเข้าโนด จะมีค่าเป็นลบถ้ากระแสไหลออกจากโนด 5. แก้ปัญหาสมการพีชคณิตเชิงเส้นเพื่อหาค่าแรงดันโนดตำแหน่งที่ต้องการ