คอนสตรัคเตอร์ (Constructor)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA
Advertisements

โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
การจัดการความผิดพลาด
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
Control structure part II
Data Type part.III.
Object and classes.
Inheritance.
องค์ประกอบของโปรแกรม
05_3_Constructor.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาตอนที่ ๓
ครั้งที่ 7 Composition.
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
หลักการเชิงวัตถุ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
บทที่ 13 Pre-processor directive & macro Kairoek choeychuen
Selected Topics in IT (Java)
การสืบทอด (Inheritance)
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
 เป็นเมธอดที่มีคุณลักษณะของ Polymorphism รูปแบบหนึ่ง โดยใช้ชื่อเมธอดเดียวกัน มากกว่า 1 เมธอด เพื่อทำงานในแบบเดียวกัน  คลาสลูกสามารถเขียนทับ เมธอดของคลาสแม่ได้
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)
บทที่ 4 Method (2).
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object). w5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 24, 25 as5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 23 2.
คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)
บทที่ 4 Method (1).
การสืบทอดคุณสมบัติ (Inheritance)
ปฏิบัติการเกี่ยวกับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ( )
Lecture 9 Class (คลาส) To do: Hand back assignments
Inheritance การสืบทอดคลาส
บทที่ 6 เมธอด.
ทำงานกับ File และStream
Introduction to C Language
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 3 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
ความสัมพันธ์ระหว่างคลาส (Class Relationship)
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
สนุกกับ Activity ใน Android
Method of Class อ.สุพจน์ สิงหัษฐิต
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
Java Desktop Application #4
Lec03 :: หลักการเชิงออปเจ็ค (Object Oriented Concept)
Week 12 Engineering Problem 2
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
Object-Oriented Programming
บทที่ 3 Class and Object (2).
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1
BCS 121 บท 5 การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
Object Oriented Programming : OOP
การสืบทอด (inheritance)
chapter5 - คลาสนามธรรม - อินเตอร์เฟสคลาส
TECH30201 Object-Oriented Programming
Class. ทบทวน Object ประกอบด้วย ชื่อ Attributes -> คุณลักษณะ Methods -> การกระทำ ให้ลองเขียน Object โดยใช้รูปแบบดังนี้ ชื่อ Attributes Methods.
Inheritance และ Encapsulation.  การสร้างหรือพัฒนาคลาสใหม่จากคลาสเดิมที่ มีอยู่แล้ว  คลาสใหม่จะนำแอตทริบิวต์และเมธอดของ คลาสเดิมมาใช้  เป็นการถ่ายทอดคุณสมบัติจากคลาสหนึ่งสู่อีก.
Object-Oriented Programming
เมธอดคือหน้าที่การงานของวัตถุให้เรียกใช้
Debugging กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
chapter 2 - Construction and destruction - Overloading method
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษาจา วา (Introduction to JAVA Programming)
บทที่ 3 การสืบทอด (Inheritance)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คอนสตรัคเตอร์ (Constructor) บทที่ 10 คอนสตรัคเตอร์ (Constructor)

รู้จักกับ Constructor เป็นเมธอดประเภทหนึ่งที่มีชื่อเดียวกับชื่อคลาส เมื่อมีการสร้างออบเจ็กต์ด้วยคำสั่ง new เมธอดนี้จะถูกเรียกใช้งานโดยอัตโนมัติ เป็นเมธอดที่ไม่มีการคืนค่าและไม่ต้องระบุคีย์เวิร์ด void ถ้าในโปรแกรมไม่มี Constructor คอมไพเลอร์ภาษา Java จะใส่ Constructor แบบ default ให้กับโปรแกรมโดยอัตโนมัติ Default Constructor จะเป็น Constructor ที่ไม่มีคำสั่งใดๆ อยู่ภายใน

การสร้าง Constructor เพื่อกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับแอตทริบิวต์หรือเมธอดต่าง ๆ ก่อนเริ่มใช้งาน Constructor สามารถรับพารามิเตอร์ได้เหมือนกับเมธอด มีรูปแบบการใช้งาน ดังนี้ [modifier] ClassName ([parameter]) { [statements] } โดยที่ ClassName เป็นชื่อคลาส objName เป็นชื่อออบเจ็กต์ modifier เป็นคีย์เวิร์ดที่กำหนดคุณสมบัติการเข้าถึงเมธอด parameter เป็นตัวแปรที่ใช้รับข้อมูลอาร์กิวเมนต์จากคลาสที่เรียกใช้งาน

การสร้างใช้งาน Constructor ในการเรียกใช้งาน Constructor ก็คือการประกาศออบเจ็กต์นั้นเอง เนื่องจาก Constructor จะมีการทำงานโดยอัตโนมัตเมื่อสร้างออบเจ็กต์ใหม่ ซึ่งมีรูปแบบการสร้างออบเจ็กต์ดังนี้ ClassName objName = new ClassName ([argument]); โดยที่ ClassName เป็นชื่อคลาส objName เป็นชื่อออบเจ็กต์ argument เป็นค่าอาร์กิวเมนต์ที่จะส่งไปให้กับ Constructor พารามิเตอร์ของ Constructor จะต้องมีจำนวนและชนิดข้อมูลสอดคล้องกับอาร์กิวเมนต์ที่ส่งมาตอนประกาศออบเจ็กต์ด้วยคำสั่ง new

โปรแกรมการใช้งาน Default Constructor

โปรแกรมการใช้งาน Constructor

Overloading Constructor ภาษา Java อนุญาตให้สร้าง Constructor ได้มากกว่า 1 ตัว เรียกว่า Overloading Constructor มีหลักการเดียวกับ Overloading Method จำนวนหรือชนิดข้อมูลของอาร์กิวเมนต์ที่ส่งไปในแต่ละ Constructor ต้องแตกต่างกัน คอมไพเลอร์จะเรียกใช้ Constructor ตัวใดให้ทำงานนั้น พิจารณาจากจำนวนหรือชนิดข้อมูลของอาร์กิวเมนต์ที่สอดคล้องกัน ทำให้กำหนดค่าเริ่มต้นให้กับออบเจ็กต์ได้หลายรูปแบบ

โปรแกรมการใช้งาน Overload Constructor

เรียกใช้ Constructor อื่นด้วยคีย์เวิร์ด this() this() เป็นคีย์เวิร์ดที่ใช้เรียก Constructor ที่อยู่ภายในคลาสเดียวกัน เป็นคำสั่งแรกสุดของ Constructor ที่เป็นตัวเรียกใช้งาน มีรูปแบบเหมือนกับการเรียกใช้ด้วยคำสั่ง new คือ สามารถส่งชนิดข้อมูลของอาร์กิวเมนต์ที่ต้องการได้ เพื่อให้สามารถเรียกใช้ Constructor ที่สอดคล้องกันได้

โปรแกรมการใช้คีย์เวิร์ด this()

เรียกใช้ Constructor ในคลาสแม่ด้วยคีย์เวิร์ด super() super() เป็นคีย์เวิร์ดสำหรับการเรียกใช้ Constructor ในคลาสแม่ เนื่องจาก Constructor จะไม่มีการสืบทอดมาให้คลาสลูก คลาสลูกที่ต้องการเรียกใช้ Constructor ในคลาสแม่ จึงใช้เมธอด super() เรียกใช้เป็นคำสั่งแรกสุดของ Constructor และมีรูปแบบเหมือนกับ การเรียกใช้ด้วยคำสั่ง new

โปรแกรมการใช้คีย์เวิร์ด super()