ผู้จัดทำ ด. ญ. ชนินาถ สุขะ ชั้น ม.2/8 เลขที่ 34 ประเทศมาเลเซีย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community
Advertisements

ของเด็กชายธีรภัทร์ ประดับมุข และ เด็กชายพีระพงศ์ เภาด้วง
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
ลักษณะภูมิศาสตร์ภาคใต้
ของเด็กชายกลวัชร เชื้อ เกตุ
ประชาคมอาเซียน โดย ด.ญ.ทิฆัมพร เพชรกลับ ด.ญ. วัชรีย์ เหล็งรัมย์
การเมืองการปกครองของประเทศในอาเซียน
อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข.
จัดทำโดย นาย รังสรรค์ บุญทัน คณะเกษตร
จัดทำโดย นางสาวอัคคณัฏฐา อำไพ
จัดทำโดย นางสาว กนกวรรณ น้อยเจริญ
Association of Southeast Asian Nation
ประเทศมาเลเซีย ‘Malaysia’.
สาธารณรัฐสิงคโปร์ (The Republic of Singapore)
สิงคโปร์.
ประเทศอาเซียน ประเทศพม่า.
ทวีปแอฟริกา เด็กชายวุฒิชัย เพชรฤทธิ์ เลขที่ 2 ม.3.
จัดทำโดย ด.ญ.อมราลักษณ์ ลาภเกิน เลขที่ 23 กลุ่ม 16
10 ประเทศอาเชียน จัดทำโดย ด.ช.ปัณณทัต ด้วงทอง กลุ่ม 15 เลขที่ 41
อาเซียน สนุกกับอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.เบญญาภา เพ็ญกรูด ม.1/16 เลขที่34
จัดทำโดย ด.ญ.ธนาภรณ์ ตุ้มวิจิตร กลุ่มที่ 15 เลขที่ 18
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. ศิโรรัตน์ ราชตุ กลุ่ม16เลขที่20
ด.ชธเนศพล สินธุพรหม กลุ่ม15 เลขที่7
จัดทำโดย ด.ช. พศวัตร์ พุ่มลำเจียก กลุ่ม 15เลขที่10
ของเด็กหญิง ชนิตา นรสิงห์
ด.ญ. มัทชิมา บุญช่วงดี เลขที่ 47 ม.1/20 กล่ม 16
พม่า มีเมืองหลวงคือ เนปิดอว ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร ประชากร 48 ล้านคน กว่า 90% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท.
แบบทดสอบ เรื่อง แผนที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ลักษณะทางกายภาพของ ทวีปยุโรป.
ลักษณะทางกายภาพ ของทวีปแอฟริกา Afica.
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
จังหวัดสตูล โดย นางสาวทิพากร เหร็บค่วนเคี่ยม
ASEAN.
คลิกเพื่อไปหน้าต่อไป คลิกเพื่อกลับหน้าก่อนหน้า คลิกเพื่อกลับหน้าหลัก คลิกเพื่อออกจากบทเรียน.
10ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. นฤภร บุญส่งศรี ม.1/14 เลขที่ 20 กลุ่ม 15
ASEAN ASSOCIATION MALAYSIA.
ปัจจุบันประเทศอาเซียน มีอยู่ 10 ประเทศ โดยมีข้อมูลของแต่ละประเทศดังนี้
จัดทำโดย 1.ด.ช. ชาญชล ประดิษฐภูมิกลุ่ม 16 เลขที่28
สหกิจศึกษา สถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองปีนัง ประเทศมาเลเซีย
คลิกที่ รูป ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ใน ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติด ลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย.
ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วย เกาะต่าง ๆ ประมาณ 17,508 เกาะ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.สุพรรณภา ตันยะ ม.1/12 เลขที่ 32.
จัดทำโดย ด.ช.จิรภัทร นิ่มเจริญ กลุ่ม15เลขที่2
ธงชาติ ตรา แผ่นดิน ชื่อทางการ : มาเลเซีย (Malaysia) ที่ตั้ง : ตั้งอยูในเขตเสนศูนยสูตร ประกอบดวยดินแดนสองสวน โดยมีทะเลจีนใตกั้น - สวนแรก คือ มาเลเซียตะวันตก.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
โดย 2.น.ส.ญานิดา พูนสวัสดิ์ ม.6/5 เลขที่ 33
ประเทศสิงคโปร์.
ประเทศ สิงคโปร์ ประวัติ ภูมิอากาศ การเมืองการปกครอง การท่องเที่ยว
Next to. HomeNext to ไอร์แลนด์ ( ภาษาไอริช Éire) ชื่ออย่างเป็น ทางการของประเทศนี้คือสาธารณรัฐไอร์แลนด์ ( อังกฤษ : Republic of Ireland)( ภาษาไอริช โพบลัคท์
สมาคมอาเซียน AEC ประเทศ ลาว (Laos)
จัดทำโดย ด.ญ. ประภาศิริ เซ็นแก้ว กลุ่ม 13 เลขที่ 24
ประเทศมาเลียเชีย 10 ประเทศอาซียน
จัดทำโดย ด.ญ.ธันยชนก โพธิ์บัว ด.ญ.ฉัตรชนก ฤทธาภัย
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
ASEAN ASSOCIATION THAILAND ราชอาณาจักรไทย Kingdom of Thailand ที่ตั้ง : ตั้งอยูบนคาบสมุทรอินโดจีน ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต มีพรมแดนทางทิศ ตะวันออกติดประเทศลาวและประเทศ.
 ที่ตั้ง : ตั้งอยูในเขตเสนศูนยสูตร ประกอบดวยดินแดนสองส วน โดยมีทะเลจีนใตกั้น  - สวนแรก คือ มาเลเซียตะวันตก ตั้งอยูบนคาบสมุทรมลายู มี พรมแดนทิศเหนือติดประเทศไทย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย
10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย เด็กหญิง ญาธิดา หลาวเพ็ชร กลุ่ม 14 เลขที่ 14
เด็กหญิง อนัญญา สุ ทะพรหมพิงค์ เลขที่ 38 ชั้นมัธยมปีที่ 2/12.
ด.ช. ภาคภูมิ ณ วรรณา ม.2/6 เลขที่ 45.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
1. ด.ญ. นรมน น้อยชัยพฤกษ์ เลขที่ ด.ญ. สุกัญญา พันธุพูล เลขที่ 37
ของเด็กหญิงไอรดา ภาคสุข
ประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา... ไม่มีอะไรจะอธิบายย จบปิ๊ง.
จัดทำโดย เด็กหญิง พลอย กลิ่นหอม กลุ่ม 14 เลขที่ 27
จัดทำโดย ด.ญ. อรจิรา บุญภักดี ม.1/14 เลขที่ 31 กลุ่ม 15
ประวัติความเป็นมาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
ประเทศสิงคโปร์.
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ชื่อ ด.ญ.ชนิกา อ่ำทับ กลุ่ม 16 เลขที่ 10
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้จัดทำ ด. ญ. ชนินาถ สุขะ ชั้น ม.2/8 เลขที่ 34 ประเทศมาเลเซีย

ประวัติและความเป็นมา * มาเลเซียเคยตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศต่างๆ ตั้งแต่ พ. ศ.2054 โดยถูก โปรตุเกส ยึดครองช่องแคบ มะละกาซึ่งเป็นเส้นทางการค้าสำคัญในขณะนั้น และ ต่อมาตกเป็นของ ชาวดัตช์หรือเนเธอร์แลนด์ * ในพ. ศ.2359 ไทยหรือสยาม ได้ ไทรบุรี ( เก ดะห์ ) กลันตันและตรังกานู เป็นเมืองขึ้น * พ. ศ.2367 อังกฤษ เข้ายึดครองต่อจากดัตช์ และได้จัดตั้งเขตปกครองรวม ปีนัง มะละกา และ สิงคโปร์ เรียกว่า เขตจัดตั้งช่องแคบ (The Straits Settlements)

* มาเลเซียได้รับเอกราชในวันที่ 31 สิงหาคม พ. ศ.2500 โดยใช้ชื่อประเทศว่า สหพันธรัฐมาลายา และมีนายกรัฐมนตรีคนแรกชื่อ ตนกู อับดุล ราห์มาน * พ. ศ ได้มีการรวมสหพันธรัฐมาลายา สิงคโปร์ ซาบา ห์ บรูไนและสิงคโปร์ได้แยกตัวออกเป็นอิสระ ภายหลัง

ชื่อทางการ : สหพันธรัฐมาเลเซีย (Federation of Malaysia) เมืองหลวง : กัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur)

ศาสนาประจำชาติ : ศาสนาอิสลาม ดอกไม้ประจำชาติ : ดอกบุหงารายา Bunga Raya) หรือดอกชบาแดง

วันชาติ : 31 สิงหาคม วันที่เป็นสมาชิกอาเซียน : 8 สิงหาคม พ. ศ.2510 ( สมาชิกก่อตั้ง ) ภาษาประจำชาติ : ภาษามาเลย์ (Bahasa Malaysia) หรือ มลายู ภาษาราชการ : ภาษามาเลย์ ลักษณะทางภูมิศาสตร์ มาเลเซียตั้งอยู่ในเขตศูนย์สูตร มีพื้นที่ ประมาณ 329,758 ตารางกิโลเมตร

“ ภูมิประเทศ ” ประเทศมาเลเซียประกอบด้วยพื้นที่ 2 ส่วนโดย มีทะเลจีนใต้กั้น * มาเลเซียตะวันตก ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู มีพรมแดนทิศเหนือ ติดกับไทย และทิศใต้ติดกับสิงคโปร์ โดย ประกอบด้วย 11 รัฐ คือ ปะหัง สลังงอร์ เนกรีเซมบิลัน มะละกา ยะโฮร์ เประ กลันตัน ตรังกานู ปีนัง เกดะห์ และปะลิส และ 1 เขตที่ปกครองโดยรัฐบาลกลาง คือ เกาะลาบวน * มาเลเซียตะวันออก ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเกาะบอร์เนียว ( กาลิ มันตัน ) มีพรมแดนทิศใต้ติดกับอินโดนีเซียทั้งหมด ประกอบด้วย 2 รัฐ คือ ซาบาร์ และซาราวัก และ 2 เขตที่ปกครองโดยรัฐบาลกลาง คือ กัวลาลัมเปอร์ ( เมืองหลวง ) ปุตราจายา ( เมืองราชการ )

ภูมิอากาศ ร้อนชื้นและฝนตกชุกตลอดปี โดยอยู่ภายใต้ อิทธิพลของกระแสลมจากมหาสมุทรอินเดียและทะเล จีนใต้ ประชากร มีจำนวนประชากรประมาณ 28.3 ล้านคน โดยมีเชื้อชาติหลักคือ มลายู รองลงมาคือ จีน อินเดีย และเชื้อชาติอื่นๆ เช่น ไทย ทมิฬ ฮอลันดา อาหรับ เป็นต้น รวมถึงยังมีชนพื้นเมือง ดั้งเดิม เช่น โอรังอัสลี อีบาน และคาดาดุนซุน เป็นต้น

การเมืองการปกครอง ปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยมี พระมหากษัตริย์เป็นประมุข เรียกว่า สมเด็จพระราชาธิ บดี หรือ ยังดี เปอร์กวน อากง (Yang dipertuan Agong) ซึ่งเลือกจากเจ้าครองรัฐต่างๆ ผลัดเวียนกันทุก 5 ปี ส่วนระบบรัฐบาล มีทั้งรัฐบาลกลางแห่งสหพันธรัฐ และรัฐบาลแห่งรัฐปกครองแบบรัฐสภา ประกอบด้วย 2 สภา คือ สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา โดยมี นายกรัฐมนตรีมีอำนาจสูงสุดของฝ่ายบริหารโดย ประมุขของประเทศเป็นผู้แต่ง ตั้ง มาเลเซียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 13 รัฐ ซึ่งแต่ละรัฐผู้ปกครองรัฐของตน และมี 3 เขตที่อยู่ ภายใต้การปกครองของรัฐบาลกลางแห่งสหพันธรัฐ

ภาพโครงสร้างการผลิตของ มาเลเซีย ปี 2550 (9m)