หลักการบันทึกเสียง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แบบสำรวจความชื่นชอบในแนวเพลง นักเรียน สวคท. ชั้นมัธยมปลาย
Advertisements

เสียง ข้อสอบ o-Net.
สนามกีฬา.
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
Chapter5:Sound (เสียง)
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
หลักการจัดทำสตอรี่บอร์ดสื่อมัลติมีเดีย
การสร้างสื่อภาพเคลื่อนไหว
ระบบการสื่อสารข้อมูล
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
เทคนิคการใช้โปรแกรม Sound Forge ในการบันทึกและตัดต่อเสียง
ENCODER.
Ultrasonic sensor.
Magnetic Drum (ดรัมแม่เหล็ก) น.ส.พิชญา พงศ์พัฒนกิจโชติ รหัส
วิชาการบริหารงานศูนย์สื่อการศึกษา
น.ส. ภัทริดา ภิญโญภาวศุทธิ
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ไมโครโฟน (Microphone)
ลำโพง (Loud Speaker).
บรรยายโดย นายประสพพงษ์ บัวทอง วิศวกรไฟฟ้าสื่อสาร หรือ พญาไท 314
FireNEX b Optical Repeaters
การใช้โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียน
SPEAKER & 3D AUDIO SPEAKER..? 3D AUDIO..? API หัวใจของพลังเสียง DIRECTSOUND 3D A3D (API ที่เป็นอดีต) EAX ความรุ่งโรจน์ของเสียง 3D อ้างอิง.
ระบบกลไก.
การดูแลรักษาเครื่องวิทยุคมนาคม
คิดแบบพอเพียง ของคนพอเพียง.
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
การตรวจสอบโฆษณาทางคลื่นวิทยุ
VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer นางสาวฐิติภา จีนหลง.
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
อุปกรณ์ไฟฟ้าโดยทั่วไป (General Electric Equipment)
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
บทที่ 1 สัญญาณไฟฟ้าชนิดต่างๆ
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
ไดร์เป่าผม.
เรื่อง การสูญเสียการได้ยิน : กว่าจะรู้ก็สายไปแล้ว
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ด. ช. ภานุเดชขัดอุโมงค์ เลขที่ 1 ด. ช. นันทวัฒน์ ลิยอง เลขที่ 9 ด. ช. วสันต์ นามะยอม เลขที่ 12 ด. ช. ศักรินทร์ ทาแกง เลขที่ 14 ด. ช. สุทธิภัทร ปัญจมา เลขที่
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
บทที่ 4 พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ (Fundamental of Data and Signals)
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
สรุปหน่วยที่ 4 ใบความรู้ที่ 1 โดย ด. ช. จิรายุทธ กาบปัญโญ เลขที่ 3 ด. ช. ณัฐชนน ทาแกง เลขที่ 4 ด. ช. ดนุพงษ์ ราชสม เลขที่ 5 ด. ช. ทินกร ตาสาย เลขที่ 6.
หลักการแก้ปัญหา
Processor Quality Control (การควบคุมคุณภาพการล้างฟิล์ม)
ซ่อมเสียง.
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
กล้องโทรทรรศน์.
เรื่องเสียง จัดทำโดย ด. ช. เกชาบำรุงปรีชา ด. ช. เฉลิมพลวงค์ศรี ด. ช. เมธิชัยใจมาเชื่อ นาย ธนบดีปิงจันทร์ นาย คริษฐ์วงค์ดาว นักเรียนชั้น ม.3 เสนอ คุณครู
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
โรงเรียนสายมิตรเทคโนโคราช
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)
1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
การบันทึกเสียง Field trips, guest speakers, projects…
วิทยุโทรทัศน์ในประเทศไทย ช่วงปี History in of Television in Thailand.
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
จัดทำโดย นาย สุเมธ สุขพิทักษ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการบันทึกเสียง

1.เสียงพูด เป็นเสียงที่มีความดังไม่มากนัก 50 มิลลิวัตต์ มีความถี่ระหว่าง 100Hz-8000Hz เสียงเพศหญิงจะมีความถี่สูงกว่าเพศชายและในบางเสียงเช่น การออกเสียงตัวอักษรส ซ ช ฉ หรือ s ch sh จะทำให้เกิดความถี่สูงขึ้นมาเรียนกว่า ซิบิแลนซ์(sibilance)มีผลต่อการบันทึกเสียงทำให้เสียงแตกพร่าได้ง่าย

2.เสียงดนตรี เป็นเสียงมีความถี่สูงกว่าเสียงพูด คืออยู่ระหว่าง 30Hz-20,000Hz เป็นความถี่ที่หูมนุษย์สามารถรับรู้ได้ เสียงดนตรีแต่ละประเภทจะให้ความถี่แตกต่างกัน จากโครงสร้างของเครื่องดนตรีและลักษณะของเสียงที่ดังออกมา เสียงที่แตกต่างกันนี้ทำให้เรารู้ว่าเป็นเครื่องดนตรีประเภทใด แม้จะเล่นโน้ตตัวเดียวกันและมีการเล่นที่แตกต่างกันออกไป

3.เสียงรบกวน(Noise) มีอยู่ด้วยกันหลายรูปแบบ จากอุปกรณ์ทางไฟฟ้าเอง เนื้อเทป หรือแม้แต่เสียงรบกวนในขณะบันทึก ดังนั้นผู้บันทึกจึงจำเป็นที่จะต้องเข้าใจในเรื่องของเสียงรบกวนแต่ละประเภทจึงจะแก้ได้อย่างถูกต้อง

3.1 เสียงฮัม(hum) เป็นเสียงรบกวนในความถี่ต่ำ 60Hz-120Hz เกิดขึ้นจาก การรบกวนของมอเตอร์ในเครื่องเล่นต่างๆ สายสัญญาณ หรือการรบกวนของหม้อแปลงไฟฟ้า

3. 2 เสียงเทปฮีส(Tape hiss) 3.2 เสียงเทปฮีส(Tape hiss) เป็นเสียงซ่า เหมือนขณะที่หมุนหาคลื่นวิทยุ ลักษณะจะเหมือนเสียงพิงค์นอยส์ (pink noise)มักจะพบในเนื้อ เทป หรือในอุปกรณ์ต่างๆ เครื่องเสียงที่ดี มักจะมีค่าS/N Ratio สูง

4.เฮดรูม(head room) ความสามารถในการรับสัญญาณหรือบันทึกได้สูงสุดของเครื่องมือต่างๆ ก่อนจะเกิดเสียงที่แตกพร่า (Distrotion) สามารถปรับเลือกได้ ว่าจะให้มีค่าในการรับที่เท่าไหร่ เช่น 110dB หากมีเสียงเข้ามาที่ 120dB เสียงจะแตก ดังนั้นจะต้องปรับไปที่ 120 dB

5.เฟสของเสียง (Phase) รูปแบบการเคลื่อนที่ของสัญญาณเสียง 2 สัญญาณ สเตอริโอที่ออกมาพร้อมกัน หากตรงกันและพร้อมกันจะเกิดสัญญาณที่แรงขึ้น หากกลับเฟสกัน ในเวลาเดียวกัน เสียงจะหายไป และกลับเฟสกันในเวลาต่างกันจะทำให้เสียงหายไปในบางช่วง

6. เสียงแตกพร่า(Distortion) 6.เสียงแตกพร่า(Distortion) เป็นลักษณะการบันทึกที่เสียงเกินจากที่กำหนดจะทำให้เสียงแตก ซึ่งดูได้จาก VU miter ไม่สามารพแก้ไขได้ หากเสียงที่ต่ำกว่า เฮดรูมมาก จะไปเข้าใกล้นอยส์ ทำให้เสียงมีคุณภาพแย่มาก

แนวคิดในการออกแบบห้องบันทึกเสียง ปรับแต่งห้องTurning a Room

ปรับเสียง (sound proofing)

จุดรับฟัง(Sweet spot)

การสะท้อนและดูดซับของเสียง(live & dead) การสะท้อนและดูดซับของเสียง(live & dead) ในยุคก่อน การบันทึกเสียงมักจะให้เป็นห้องเก็บเสียง(dead room) แต่ทำให้ได้เสียงที่ไม่เป็นธรรมชาติ ดังนั้นจึงมีการนำวัสดุหรืออุปกรณ์ต่างๆเข้ามาใช้ในการจัดห้อง เพื่อให้เหมือนกับสภาพเสียงต่างเช่น ในห้องประชุมใหญ่ หรือในสตูดิโอซึ่งผนังห้องที่ต้องการให้เกิดเสียงสะท้อน เรียกว่า reflective หรือ live or wet-sounding room หากผนังต้องการให้ซับเสียงมากเรียกว่า absorbent หรือ dead or dry