กลุ่มที่ 2 โครงการที่ 7 วัยทำงาน : ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ เรื้อรังและอุบัติเหตุ สำนักโรคไม่ติดต่อ 6 พ.ย 57
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ อุบัติเหตุทางถนน ปี พ.ศ.2545 – 2556 (ทุกกลุ่มอายุ) ที่มา : สนย. ปัญหา : 1. NCDs อุบัติเหตุทางถนน และโรคจากการประกอบอาชีพ 2. แนวโน้มอัตราตายจากโรค NCDs อุบัติเหตุยังคงเพิ่มขึ้น ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา 3. GAP เรื่องศักยภาพบุคลากร CVD risk assessment และคลินิก NCD คุณภาพ
โรคและภัยสุขภาพเป้าหมาย อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ลดลงร้อยละ 10 ภายในระยะ 5 ปี (2558-2562) อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน (ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน)
23 อัตราตายอย่างหยาบรวมทุกกลุ่มอายุด้วยโรค CHD ใน 9 เดือน เมื่อเทียบกับเป้าหมายทั้งปี (ไม่เกิน 23 ต่อแสน) เขต 3, 4, และกทม. จะมีอัตราตายสูงกว่าเป้าหมายของทั้งปีค่อนข้างมาก และเมื่อดูข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี ก็พบว่ามีอัตราตาย สูงกว่าประเทศค่อนข้างมากและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น สาเหตุยังอธิบายไม่ได้ชัดเจน แต่พบว่าทั้ง 3 เขตมีความชุกของ HT สูง และออกกำลังกายน้อย
จังหวัดที่มีอัตราตายต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ เกินร้อยละ 23 ต่อประชากรแสนคนปีงบประมาณ 2557 ต.ค.56 – มิ.ย.57 (รอบ 9 เดือน) เขตบริการสุขภาพที่ จังหวัด จำนวน รายชื่อ 1 2 แพร่ น่าน 7 - อุตรดิตถ์ 8 3 4 ชัยนาท นครสวรรค์ กำแพงเพชร พิจิตร 9 นนทบุรี ปทุมธานี อยุธยา อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี สระบุรี นครนายก 10 5 ราชบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร 11 นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี ระนอง ชุมพร 6 สมุทรปราการ ชลบุรี จันทบุรี 12 พัทลุง
เป้าหมายประเทศ นอกนั้นสูงกว่า 20 เมื่อกำหนดเป้าหมายปี 57 ที่ลดลง 7% จากค่า 3 yrs median แล้วถอดออกมาเป็นเป้าหมายในระยะ 9 เดือน ปรากฏว่ามีเขต 1, 6, 7, 8, 9 ที่อัตราตายสูงกว่าเป้าหมาย 9 เดือน และที่สูงกว่าค่อนข้างมาก คือ เขต 1 54 55 56 เป้าหมายระดับประเทศไม่เกิน 20 ต่อแสน 20 อัตราตาย 3 ปี (54-56) ย้อนหลัง ในภาพรวมของประเทศยังคงเพิ่มขึ้น มีเพียงเขต 4,7,8,10 มีอัตราตายใกล้เคียงหรือต่ำเกว่า เป้าหมายประเทศ นอกนั้นสูงกว่า
จังหวัดที่มีอัตราตายอุบัติเหตุทางถนน เกินร้อยละ 20 ต่อประชากรแสนคนปีงบประมาณ 2557 ต.ค.56 – มิ.ย.57 (รอบ 9 เดือน) เขตบริการสุขภาพที่ จังหวัด จำนวน รายชื่อ 1 4 เชียงราย ลำปาง ลำพูน เชียงใหม่ 7 - 2 3 ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ 8 พิจิตร ชัยนาท กำแพงเพชร 9 นครราชสีมา นครนายก สระบุรี 10 5 ประจวบคีรีขันธ์ นครปฐม สุพรรณบุรี เพชรบุรี 11 ชุมพร พังงา ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี 6 ระยอง ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี จันทบุรี ตราด สระแก้ว 12
ค่าเป้าหมายอุบัติเหตุทางถนน รายเขตบริการสุขภาพปีงบประมาณ 2558 (ค่าตั้งต้น median 3 ปี ปี 2553-2555) เขตบริการ เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 ค่าตั้งต้น 1,362 888 773 994 1,465 1,828 862 เป้าหมายปี 58 (จำนวน) 1,171 764 665 855 1,259 1,572 741 ปชก.กลางปี 56 5,692,131 3,442,424 3,012,677 5,126,066 5,111,914 5,723,930 5,021,953 เป้าหมายปี 58 (อัตราตายต่อแสน) 20.57 22.19 22.07 16.68 24.63 27.46 14.76 เขตบริการ เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 กทม. รวม ค่าตั้งต้น 722 1,393 850 1,364 1,126 194 13,819 เป้าหมายปี 58 (จำนวนตาย) 620 1,198 731 1,173 968 167 11,884 ปชก.กลางปี 56 5,467,199 6,697,369 4,549,926 4,313,028 4,782,779 5,679,906 64,621,302 (อัตราตายต่อแสน) 11.34 17.89 16.07 27.20 20.24 2.94 18.39
คู่มือบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน (2.60 ลบ.) บูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2558 (120.10 จากเดิม 134.58 ลบ.) กรมคร. 45.45 ลบ./กรม สบส. 9.28 ลบ./กรม อ. 2.00 ลบ./กรมสุขภาพจิต 1.00 ลบ./ สบรส. 62.38 ลบ. ผลลัพธ์ : ลดป่วย ลดตาย จากโรคNCDs โรคจากการประกอบอาชีพ ลดบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน - พัฒนาคลินิก NCD คุณภาพในสถานบริการสาธารณสุข ทุกระดับ - ระบบสุขภาพอำเภอ--จัดระบบข้อมูลข่าวสาร: 43 แฟ้ม IS - M&E - ตำบลจัดการสุขภาพ/ Healthy workplace - บังคับใช้กฎหมาย 1.ขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ /Healthy Workplace 2 บังคับใช้กฎหมายสุรา-ยาสูบ 3. พัฒนาการดำเนินงานด้านอุบัติเหตุจราจร - สอบสวนอุบัติเหตุ - บูรณาการทุกหน่วยงานในระดับจังหวัด Population Approach Individual Approach 1.การควบคุม DM HT - พัฒนาคลินิก NCD คุณภาพ -มุ่งเน้น Behavior Change 2.พัฒนาการจัดการความเสี่ยง CVD -พัฒนา/เร่งรัดการใช้ CVD Risk assessment -จัดการ Specific group Behavior Change 1.มาตรการ สร้างเสริมสุขภาพและวิถีชีวิตในประชากร(28.57 ลบ.) 2. มาตรการ พัฒนาคลินิกบริการและการจัดการโรค (23.15 ลบ.) มาตรการสนับสนุน คู่มือบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน (2.60 ลบ.) การพัฒนาระบบสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มวัยทำงาน (62.38 ลบ.) M&E (3.40 ลบ.)
มาตรการและแนวทางสำคัญ
มาตรการการดำเนินงาน ปี 2558 กลุ่มวัยทำงาน เป้าหมาย วิธีการวัด งบประมาณ 1. สร้างเสริมสุขภาพและวิถีชีวิตในประชากร บูรณาการตำบลจัดการสุขภาพ(NCD อุบัติเหตุ) บูรณาการการป้องกันอุบัติเหตุทางถนนใน DHS - สถานที่ทำงาน/สปก.ปลอดโรค ปลอดภัย ฯ - บังคับใช้กฎหมาย (สุรา บุหรี่ ) - สื่อสารความเสี่ยง (3อ 2ส 3ม 2ข 1ร) - การประเมินสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน (มะเร็งและความเสี่ยงจากการทำงาน) 2.พัฒนาคลินิกบริการและการจัดการโรค -คลินิก NCD คุณภาพ (+บูรณาการ บริการDPAC Psychosocial บริการช่วยเลิกบุหรี่ และสุรา และบริการอาชีวอนามัย) 3.มาตรการสนับสนุน -พัฒนาระบบข้อมูล บริหารจัดการ และ M&E 1.ลดความชุกของพฤติกรรมเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง( NCD env-occ อุบัติเหตุ) 2.ลดอัตราตายด้วยอุบัติเหตุทางถนนร้อยละ 50 ภายในปี 2563 3.ลดอัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ร้อยละ 10 ภายในระยะ 5 ปี การสำรวจ BRFSS ทุก 3 ปี รายงานผลการดำเนินการตามกฎหมายแรงงาน ระบบรายงานการเสียชีวิตจากฐานมรณะบัตร (สนย.) 28.57 ลบ. (สบรส. 48.00 ลบ. ) 23.15 ลบ. 6.00 ลบ. (สบรส 14.38 ลบ. )
ตัวชี้วัดกลุ่มวัยทำงาน ระดับกระทรวง อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ในปี 2558 ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ลดลงร้อยละ 10 ภายในระยะ 5 ปี (2558-2562) ระดับเขต อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ลดลงร้อยละ14 จากค่าตั้งต้นมัธยฐาน 3 ปี (2553-2555) ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาล/ความดันโลหิตได้ดี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 และ 50 ตามลำดับ) อัตราผู้ป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง (ลดลง) ความชุกของพฤติกรรมเสี่ยงลดลง (ดื่มเหล้า, สูบบุหรี่, การบริโภคผักผลไม้น้อย, ออกกำลังกายไม่เพียงพอ, ขี่มอเตอร์ไซด์ไม่สวมหมวกนิรภัย, เมาแล้วขับ) ข้อเสนอตัวชี้วัด ในปี 2558 แยกเป็นระดับกระทรวง ระดับเขต ระดับจังหวัด
ตัวชี้วัดกลุ่มวัยทำงาน ระดับจังหวัด ร้อยละของผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาล ระดับ A, S, M1 ที่มีค่า Probability of Survival (Ps) > 0.75 และรอดชีวิตหลังการดูแลรักษา (มากกว่าร้อยละ 98.5) รพศ./รพท. และ รพช. ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิก NCD คุณภาพ ร้อยละ 70 ร้อยละของผู้ที่ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) และมีความเสี่ยงสูงมาก ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นและ/หรือได้รับยาในการรักษาเพื่อลดความเสี่ยง (ร้อยละ 50) ความชุกของภาวะอ้วนลดลง BMI ≥ 25กก/ม2 และหรือภาวะอ้วนลงพุง (รอบเอวเกิน ชาย 90 ซม. หญิง 80 ซม.) ร้อยละ 70 ของตำบลเป้าหมายมีการจัดการด้านสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด (ระดับดีขึ้นไป) จำนวนสถานที่ทำงาน/สถานประกอบการได้รับข้อมูล/เข้าถึงการดำเนินการสถานที่ทำงาน/สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข : 10,481 แห่ง (ร้อยละ 5 ของที่ขึ้นทะเบียน) สามารถปฏิบัติตามกฎหมายควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบได้ร้อยละ 50 ข้อเสนอตัวชี้วัด ในปี 2558 แยกเป็นระดับกระทรวง ระดับเขต ระดับจังหวัด
กิจกรรมหลักและผังกำกับการดำเนินงาน (Gantt Chart) เครือข่ายร่วมดำเนินการ ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 1. คก.พัฒนาระบบการจัดการโรคไม่ติดต่อ 1.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการชี้แจงนโยบายฯปี 2558 - สคร. - สำนักส่วนกลางและกรมวิชาการต่างๆที่เกี่ยวข้อง - เขตสุขภาพ - ศูนย์อนามัยเขต สบส.เขต สุขภาพจิตเขต 27-29 ตค.57 - 1.2 เพิ่มศักยภาพ/พัฒนาทีมจัดการระบบการจัดการโรคเรื้อรังระดับเขต สคร. ธค. 57 2. คก.นำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 2.1 ชี้แจงโครงการนำร่องฯ สคร. สสจ. ม.ค 58 2.2 ติดตามความก้าวหน้า ผลการดำเนินงาน สคร. 2 จังหวัดอ่างทอง สิงห์บุรี เมย.58 สค.58
กิจกรรมหลักและผังกำกับการดำเนินงาน (Gantt Chart) เครือข่ายร่วมดำเนินการ ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 2.3 จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้กระบวนการขับเคลื่อนและรูปแบบการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด สคร. สสจ. - สค. 58 3. พัฒนาหลักสูตรเพื่อสนับสนุนให้เกิดการจัดการตนเอง 3.1 พัฒนาแบบประเมินความพร้อมของกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง - สคร.2,8,11 - วิทยาลัยพยาบาลที่เกี่ยวข้อง พย.57 3.2 ลงพื้นที่ เพื่อทดสอบประสิทธิภาพแบบประเมินความพร้อมของกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในการจัดการตนเอง ที่จังหวัดสระบุรี สำนักโรคไม่ติดต่อ , สคร.2, 8,11 สสจ. สถานบริการสธ. มค.-กพ.58
กิจกรรมหลักและผังกำกับการดำเนินงาน (Gantt Chart) เครือข่ายร่วมดำเนินการ ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 3.3 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ร่วมกับภาคีเครือข่ายที่สำคัญ เพื่อพิจารณาและพัฒนาหลักสูตร ในสนับสนุนให้เกิดการจัดการตนเองสำหรับเจ้าหน้าที่และบุคลากรสธ. - สำนักโรคไม่ติดต่อ , -สคร.2,8,11 - วิทยาลัยพยาบาลเป้าหมายที่คัดเลือก ,สถานบริการสธ.ภายใต้เขตบริการสธ. - กพ.58 3.4 ติดตามหลักสูตรเพื่อสนับสนุนให้เกิดการจัดการตนเอง สำหรับเจ้าหน้าที่และบุคลากรสาธารณสุข ในการประเมินความพร้อมของกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในพื้นที่นำร่อง พค.-มิ.ย58
กิจกรรมหลักและผังกำกับการดำเนินงาน (Gantt Chart) เครือข่ายร่วมดำเนินการ ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 4.คก.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ลดเสี่ยงเลี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ภายใต้โครงการรณรงค์ “เข้าพรรษา ลดเสี่ยง (อ้วน สูบบุหรี่ ดื่มสุรา ไม่ออกกำลังกาย) สร้างบุญ” ปี 2557) 4.1 จัดกิจกรรมการประกวดผลการดำเนินงานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ลดเสี่ยงเลี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ภายใต้โครงการรณรงค์ “เข้าพรรษา ลดเสี่ยง (อ้วน สูบบุหรี่ ดื่มสุราไม่ออกกำลังกาย) สร้างบุญ” ปี 2558) สคร. ที่ 1-12 - ม.ค 58 5. องค์กรต้นแบบลดเสี่ยง ลดโรคหัวใจและหลอดเลือดสุขภาพดี ที่ลดเสี่ยงบูรณาการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข 5.1 ประชุมราชการร่วมกับ สคร(ผู้รับผิดชอบ)อภิปราย ร่วมกัน รวบรวมผลสุขภาพ ปัญหา ข้อชี้แนะโครงการ (tele conference) - นักวิชาการส่วนกลาง - สคร สลก. - ผู้บริการภายในกรมฯ - ผู้เชี่ยวชาญ พย.57
กิจกรรมหลักและผังกำกับการดำเนินงาน (Gantt Chart) เครือข่ายร่วมดำเนินการ ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 5.2 ประชุมวิชาการ ผู้บริหาร ที่ปรึกษา เพื่อเสนอแนวทางการดำเนินการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ บุคลากรกรมควบคุมโรค - นักวิชาการส่วนกลาง - สคร สลก. - ผู้บริการภายในกรมฯ ผู้เชี่ยวชาญ ธค.57 - 6. โครงการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานด้านสุขภาพวัยทำงาน 6.1 ติดตามตรวจเยี่ยมและประเมินผลการดำเนินงานด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ผู้บริหารและนักวิชาการของกรมคร. สคร.1-12 ผู้บริหารและนักวิชาการที่เกี่ยวข้อง(กรมสบส.,กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต) พค.-มิ.ย 58 สค.58
กิจกรรมหลักและผังกำกับการดำเนินงาน (Gantt Chart) เครือข่ายร่วมดำเนินการ ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 7. โครงการป้องกันและลดการตายจากอุบัติเหตุทางถนนในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน 7.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้เป็น Mister RTI - สคร. - เขตสุขภาพ ธค.57 - 8. โครงการการป้องกันการบาดเจ็บจากสาเหตุอื่นที่สำคัญ (การพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ การบาดเจ็บจากความรุนแรง) 8.1 นำร่องการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บ โดยสถานบริการสาธารณสุขและเครือข่าย สสจ. รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. ใน 2 จังหวัดนำร่อง (จว.สุราษฎร์ธานี,ปราจีนบุรี) พย.57-ม.ค 58 พค.-ก.ค 58 9. โครงการ การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ 9.1 การเก็บข้อมูลการสำรวจในพื้นที่ตัวอย่าง มค.58
สิ่งสนับสนุนการดำเนินงาน คู่มือ แหล่งสืบค้น 1.คู่มือการจัดบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำงานแบบบูรณาการ 2558 www.thaincd.com 2.คู่มือพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติการตาม พรบ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2535 พรบ.คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2535 และพรบ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 www.thaiantialcohol.com www.btc.ddc.moph.go.th 3. คู่มือประเมินการดำเนินงานคลินิก NCD คุณภาพ 2557 4. คู่มือแนวทางการดำเนินงาน สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข 5. แนวทางการดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน ปีพ.ศ.2558 www.phc.moph.go.th
พฤติกรรมเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง M & E ปี 2558 พฤติกรรมเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง BRFSS / IS ผลลัพธ์ทางสุขภาพ (ลดป่วย ลดตาย) รายงานผู้ป่วย และมรณบัตร ติดตามผลลัพธ์ การดำเนินงาน - NCD เหล้า บุหรี่ อุบัติเหตุ En-occ ระดับเขตสุขภาพ คณะทำงาน M&E (12เขต) (Internal Audit) SIIIM การประเมินแบบมีส่วนร่วม ระดับจังหวัด ตำบลจัดการสุขภาพ (NCD, อุบัติเหตุ, healthy workplace ) คลินิก NCD คุณภาพ กรม สบส. ประเมิน 5 ระดับ คือ ระดับพื้นฐาน พัฒนา ดี ดีมาก และดีเยี่ยม กรมควบคุมโรค -สถานบริการสธ. ประเมินตนเอง -สคร. + จังหวัด ประเมินรับรอง หมอหญิงเสนอให้เพิ่มข้อมูลในสไลด์ ตามตาราง 3 ช่อง (สไลด์ 10) ดังนี้ ผลลัพธ์ทางสุขภาพ จะดูจากรายงานผู้ป่วย และมรณบัตร พฤติกรรมเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง โดยการสำรวจ BRFSS / IS ระดับเขต ปัจจัยความสำเร็จ จากการ M&E ระดับจังหวัดและระดับเขต