Facies analysis.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
Advertisements

บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ENVIRONMENTAL SCIENCE
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การสร้างคำถาม.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Chapter 4 Well logging methods and interpretation
หินแปร (Metamorphic rocks)
การศึกษารายกรณี.
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
ซอฟต์แวร์.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
ธรณีกาล.
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
การคิดเชิงระบบ และการคิดเชิงวิเคราะห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ปฏิบัติการที่ 5 หินตะกอน.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วิธีการทางวิทยาการระบาด
กิจกรรมที่ 2 ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
แนวทางการดำเนินงานในการสำรวจพื้นที่ล่อแหลม
การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
๕.๖ ส่วนประกอบของ DBMS ในการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลจะต้องมีการสอบถามหรือค้นหาคำตอบ รวมถึงการเพิ่มและการลบข้อมูล ซึ่งโดยทั่วไปผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องทราบวิธีการในการจัดเก็บข้อมูล.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
ตารางวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้จัดทำคำอธิบายรายวิชา
หน่วยที่ 5 การประดิษฐ์ตัวอักษร
ระบบรายงานสภาพจราจรโดย เครือข่ายผู้ใช้งาน. สร้างเครือข่ายสำหรับการรายงานสภาพจราจร โดยมุ่งเน้นที่ กลุ่มผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภท smart phone และมีอายุ
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ดินถล่ม.
ผู้วิจัย อาจารย์พิศมัย เดชคำรณ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
ดวงจันทร์ (Moon).
5. Geologic Time F.S.Singharajwarapan.
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
การเรียนทางคลินิก โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
4.1 Borehole environment สภาวะความดันระหว่างการเจาะและการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ เกิดจากปัจจัยสองส่วนคือ - ความดันในชั้นหิน - ความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลน.
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
4.5 Gamma ray log gamma ray log เป็นการวัดค่ากัมมันตภาพรังสีที่เกิดขึ้นในธรรมชาติในชั้นหิน ในหินตะกอน ค่าที่อ่านได้จะสะท้อนถึงปริมาณของหินดินดานในชั้นหิน.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Facies analysis

การศึกษาถึง facies และการลำดับชั้นหินเป็นวิธีการที่จะทำให้ทราบถึงสภาพแวดล้อยของการสะสมตัวของหินตะกอน ลักษณะทางกายภาพ ทางเคมีและทางชีวภาพของสภาพแวดล้อมนั้นๆ ถูกเก็บรักษาไว้ในหินตะกอนเหล่านี้ primary sedimentary feture มีความสำคัญอย่างมากเนื่องจากมักเกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมนั้นๆ การเรียงลำดับชั้นหินจะเป็ตัวบอกการเปลี่ยนแปลงในแง่ของขนาดที่เปลี่ยนไปและเวลาที่ผ่านไป

The electrofacies concept จากการศึกษาที่ผ่ามาจะพบว่า log ต่างๆให้ข้อมูลที่เกี่ยวกับ ส่วนประกอบทางแร่ ลักษณะเนื้อหิน ลักษณะโครงสร้างทางหินตะกอน log เพียงชนิดเดียวก็สามารถที่จะจำแนกชั้นหินออกได้อย่างง่ายดาย เช่น SP log หรือ Gamma ray log แต่หากต้องการความถูกต้องแม่นยำ การใช้ข้อมูลจาก log ทุกชนิดมีความจำเป็น

parameter ที่ใช้ในการกำหนด facies สามารถหาได้จาก logs และนำไปสู่การสร้างแผนที่แสดง facies ในพื้นที่ศึกษา ความชัดเจนและแม่นยำของแผนที่แสดง facies นี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนข้อมูล log ที่ใช้และการกระจายตัวของข้อมูลให้ครอบคลุมพื้นที่ศึกษา

parameter หนึ่งซึ่งถูกละเลยในการศึกษาลักษณะทางธรณีวิทยาของหินโผล่คือของเหลวที่อยู่ในชั้นหิน เนื่องจากสังเกตได้ยากและในบางครั้งไม่มีความสำคัญพอ แต่ข้อมูลจาก log ข้อมูลเหล่านี้ปรากฏอยู่และเป็นข้อมูลที่ถูกนำมาใช้ในการกำหนดลักษณะของ elctrofacies แต่ละ electrofacies กำหนดโดยธรรมชาติของของเหลวที่อยู่ในชั้นหิน

ดังนั้นในหนึ่ง geological facies อาจพบได้หลาย electrofacies ซึ่งอาจเป็นข้อด้อยของการศึกษา แต่จุดประสงค์ของการทำ electrofacies คือการจำแนกชั้นหินต่างๆ ออกจากกันโดยอาศัยลักษณะที่เห็นเด่นชัดจาก log หลังจากนั้นอาศัยข้อมูลจาก log อื่นๆ ที่ของเหลวในชั้นหินไม่มีผลต่อ log มาศึกษาเพิ่มเติม ของเหลวที่อยู่ในชั้นหินต่างๆและชนิกของหินจะเป็นตัวบอกถึงสภาพแวดล้อมของการสะสมตัว

โดยการศึกษาจากลักษณะการเปลี่ยนแปลงของ log ทำให้สามารถบอกถึงลักษณะและสภาพแวดล้อมของการสะสมตัวของตะกอน จากลักษณะเฉพาะของ logs ในแต่ละสภาพแวดล้อม สามารถนำมาจำแนกเป็น electrofacies ได้

Electrofacies Analysis from Wireline Logs จุดประสงค์ของการวิเคราะห์ คือ การอธิบายถึงลักษณะของชั้นหินที่ถูกเจาะผ่าน ทำให้สามารถศึกษาถึงชั้นหินตามแนวดิ่ง ซึ่งอาจใช้ในการอธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงตามแนวราบได้ ทำให้นำไปสู่การอธิบายถึง สภาพแวดล้อมของการสะสมตัวของชั้นหินในบริเวณนั้นได้

การศึกษาชั้นหินตะกอนจาก log ต่างๆ ได้จากการศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของ log ทำให้สามารถบ่งบอกถึงชนิดของการสะสมตัวและสภาพแวดล้อมของการสะสมตัว ข้อมูลที่นิยมใช้ในการศึกษาอาจได้จาก SP log, Gamma ray log และ Resistivity log

การศึกษา electrofacies ทำได้ โดยอาศัยข้อมูลจาก log ต่างๆ นำมาแบ่งออกเป็นส่วนๆ แต่ละส่วนมีความหนา มากกว่าค่าเฉลี่ยของ vertical resoultion ของเครื่องมือ (ประมาณ 2 - 3 ฟุต หรือ 60 - 90 เซนติเมตร) ค่าที่อ่านสูงสุด ต่ำสุด ที่ได้ในแต่ละส่วน นำมา plot ลงใน rosettes diagram หรือ spider’s web เมื่อเชื่อมจุดต่างๆเข้าด้วยกัน จะได้ลักษณะเฉพาะของแต่ละส่วน แต่ละชั้นที่มีลักษณะและชนิดของหินที่แตกต่างกัน ก็จะได้รูปร่างของ rosettes diagram หรือ spider’s web ที่แตกต่างกัน