ชนิดเซลล์รวมในสภาวะเขย่า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
Advertisements

โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
นโยบายคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board)
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
ปฏิกิริยา เอสเทอริฟิเคชัน (esterification)
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
ช็อคโกแล็ตแบบใหม่ไม่ละลายในอากาศ
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
ปัจจุบันทั่วโลกกำลังประสบปัญหากับวิกฤตการณ์ด้านการขาดแคลนพลังงานและปัญาโลกร้อนจากภาวะเรือนกระจกที่ทุกประเทศต้องร่วมกันแก้ไข ที่ผ่านมาการนำพืชอาหารมาใช้เป็นพลังงานทดแทน.
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
เทคนิคการพ่นสารเคมี โดย ดอกรัก ฤทธิ์จีน
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4209 (พ. ศ
ระเบียบกรมวิชาการเกษตรว่าด้วยการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายทางการเกษตรพ. ศ
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 4) พ. ศ
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) สวก.
เทคโนโลยีการแปรรูปขั้นต้นของผักและผลไม้ โดย ผศ
โรงเรียนวังทองพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลกเขต 2
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ข้าวกล้องงอก ข้าวกล้องหอมมะลิงอก ข้าวกล้องข้าวเหนียวดำ
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
ภาพรวมงานวิจัยของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในปี 2548/49
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
งานวิจัยและวิเทศสัมพันธ์
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2553 สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ ณ เดือนสิงหาคม 2553 สำนักงานประมงจังหวัด อุตรดิตถ์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2553 เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตร.
การผลิตสารประกอบอินทรีย์จากลำไยอบแห้งหมดอายุผสมกากน้ำตาล ด้วยจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ในสภาวะตั้งนิ่ง (The Production of Organic Compounds from Expired Dried.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์ (Dr. Noppol Leksawasdi)
วันวิชาการมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 5 วิถีวิจัย : ทศวรรษ ที่ 5 สู่ความเป็นเลิศ ตติยา คำทิพย์, ฐิติพร ก้านบัว, พนิตนันท์ สิทธิมูล,
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิต R-phenylacetylcarbinol จากกากของแข็งที่เหลือจากกระบวนการผลิต ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง นายวรายุทธ เนติกานต์ อ.ดร.นพพล เล็กสวัสดิ์
อาหารปลอดภัยด้านประมง
การใช้ฝุ่นจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อผลิตแอลกอฮอล์
การสืบพันธุ์ของมนุษย์ เป็นการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 44/2554 เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบาย น้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
การอบแห้งข้าวที่ผ่านการเคลือบผิวด้วยสารสกัดจากใบเตยด้วยวิธี ไมโครเวฟ
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
การผลิตเอทานอลและมวลชีวภาพสำหรับ กระบวนการไบโอทรานส์ฟอร์เมชั่น จากจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ ในสภาวะตั้งนิ่ง Production of Ethanol and Biomass for Biotransformation.
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิต R-phenylacetylcarbinol จากกากของแข็งที่เหลือจากกระบวนการผลิต ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์ อ. สุภเวท มานิยม.
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์
ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 33 (พ. ศ
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งสารเบนซีน และสาร 1, 3 - บิวทาไดอีน จากโรงงานอุตสาหกรรมเคมี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ประกาศคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน ที่ ส. 2/2551 เรื่อง การ ส่งเสริมกิจการที่ใช้เทคโนโลยี ขั้นสูง และกิจการผลิตวัสดุและ ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม.
1 การผลิตเอทานอลและกรด อินทรีย์ จากลำไยอบแห้ง  นางสาวฐิติพร กัน จันวงศ์  นายณัฐพงษ์ กาละปัน  อ. ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์ รหัสโครงการ R50D01001.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชนิดเซลล์รวมในสภาวะเขย่า กระบวนการ R-phenylacetylcarbinol ไบโอทรานส์ฟอร์เมชั่นแบบสองเฟสที่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาชีวภาพ ชนิดเซลล์รวมในสภาวะเขย่า R51D03005 ตติยา คำทิพย์, พนิตนันท์ สิทธิมูล, ฐิติพร ก้านบัว, นพพล เล็กสวัสดิ์* ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่* บทคัดย่อ การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ ในสภาวะตั้งนิ่งระดับ 100 มิลลิลิตร เป็นเวลา 48 ชั่วโมง อุณหภูมิ 25.6 องศาเซลเซียส ที่ใช้แหล่งอาหารคาร์บอนเป็นลำไยอบแห้งหมดอายุผสมกากน้ำตาล และไม่มีการเติมแหล่งอาหารไนโตรเจนอื่นเพิ่มเติม เพื่อตรวจสอบความสามารถในการผลิตสารประกอบอินทรีย์ชนิดต่าง ๆ ที่ระดับสูงสุด พบว่า Saccharomyces cerevisiae TISTR 5606 ผลิตเอทานอลและกลีเซอรอลได้ 38.4  1.3 และ 4.51  0.16 กรัมต่อลิตร Zymomonas mobilis TISTR 405 ผลิตกรดแลกติกได้ 3.93  0.15 กรัมต่อลิตร Escherichia coli TISTR 1261 ผลิตกรดซิตริกและกรดฟอร์มิกได้ 29.1  1.7 และ 2.92  0.99 กรัมต่อลิตร และ Candida utilis TISTR 5001 ผลิตกรดโพรพาโนอิกได้ 7.71  0.39 กรัมต่อลิตร สำหรับการศึกษาผลกระทบจากตัวทำละลายอินทรีย์จำพวกแอลกอฮอล์ปฐมภูมิต่างชนิด (C7 - C9) ที่มีการผสมไดโพรพิลีนไกลคอล (DPG) ในระดับ 1:1 ต่อระดับการผลิต R-phenylacetylcarbinol (PAC) สำหรับระบบของเหลวสองชั้น ที่อุณหภูมิ 8 องศาเซลเซียส ความเร็วในการเขย่า 250 รอบต่อนาที และค่า pH เริ่มต้น 6.00 พบว่าการใช้เซลล์รวมความเข้มข้น 6.12 กรัมต่อลิตรเทียบเท่ามวลชีวภาพแห้ง สามารถผลิต PAC ได้สูงสุดที่ระดับ 65.5  3.2 mM ในชั้นสารอินทรีย์ และ 7.63  0.41 mM ในชั้นฟอสเฟตบัฟเฟอร์ สำหรับระบบที่ใช้ C9 + DPG เป็นชั้นสารอินทรีย์ บทนำ ผลการทดลอง ลำไยอบแห้งทั้งเปลือกปี 2546 – 2547 มูลค่ากว่า 300 ล้านบาทยังคงตกค้างอยู่ในคลังขององค์การตลาดเพื่อเกษตรกร (อตก.) และองค์การคลังสินค้า (อคส.) รวมทั้งสิ้นประมาณ 67,000 ตัน [1] โครงงานวิจัยนี้เป็นหนึ่งในความพยายาม ที่จะช่วยแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยศึกษาความสามารถของจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ในการผลิตสารอินทรีย์หลากชนิดรวมถึง R-phenylacetylcarbinol (PAC) ที่ใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตยา ephedrine [2] ด้วยการเพาะเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีองค์ประกอบเป็นสารสกัดจากลำไยอบแห้งเน่าเสียที่ตกค้างในคลังและกากน้ำตาล Fermentation วิธีการทดลอง รูปที่ 1: ความเข้มข้นเมทานอล เอทานอลและกลีซอรอลสำหรับจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ หลังเพาะเลี้ยง 48 ชั่วโมง ทำการเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์ S. cerevisiae TISTR 5606 ในอาหารเลี้ยงเชื้อระดับ 100 และ 1,500 มิลลิลิตร เป็นเวลา 24 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25.6 องศาเซลเซียส และนำมวลชีวภาพที่ได้จากการเพาะเลี้ยงใช้ในระบบของเหลวสองชั้นที่มีสารตั้งต้นเบนซาลดีไฮด์และไพรูเวตโดยใช้ความเข้มข้นของมวลชีวภาพ 2 ระดับ ได้แก่ 3.06 กรัมต่อลิตร และ 6.12 กรัมต่อลิตร ต่อกระบวนการไบโอทรานส์ฟอร์เมชั่น ที่สภาวะการเขย่า 250 รอบต่อนาที ที่ 8 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 72 ชั่วโมง Biotransformation รูปที่ 2: ระดับการผลิต PAC ในชั้นสารอินทรีย์ต่างชนิดสำหรับระบบของเหลวสองชั้น รูปที่ 3:โครมาโตแกรม PAC, Benzoic acid และ Benzaldehyde วิจารณ์และสรุป ผลการวิจัยพบว่าจุลินทรีย์ที่ดีที่สุดสามอันดับแรกสำหรับการผลิตเอทานอล คือ S. cerevisiae TISTR 5606 (38.4  1.3 กรัมต่อลิตร), S. cerevisiae TISTR 5020 (28.8  2.2 กรัมต่อลิตร) และ Z. mobilis TISTR 405 (12.0  0.8 กรัมต่อลิตร) ที่มีค่าสัดส่วนการผลิตเอทานอลในระดับสูงใกล้เคียงหรือเทียบเท่าค่าในทางทฤษฎี จะเห็นได้ว่า S. cerevisiae TISTR 5606 เป็นจุลินทรีย์ที่มีความสามารถสูงที่สุดจากการคัดเลือกจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ ในการผลิตเอทานอลภายใต้สภาวะตั้งนิ่งสำหรับการเพาะเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อที่ประกอบไปด้วยลำไยอบแห้งหมดอายุผสมกากน้ำตาล และไม่มีการเพิ่มเติมแหล่งอาหาร ไนโตรเจนอื่น ส่วนการใช้ระบบของเหลวสองชั้นสามารถผลิต PAC ได้สูงสุดที่ระดับ 65.5  3.2 mM ในชั้นสารอินทรีย์ของ C9 + DPG และ 7.63  0.41 mM ในชั้นฟอสเฟตบัฟเฟอร์ กิตติกรรมประกาศ เอกสารอ้างอิง ทีมงานวิจัย ขอขอบคุณ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ่ายอุตสาหกรรม สำนักงานโครงการ IRPUS ประจำปี 2551 ที่ได้สนับสนุนทุนวิจัย (R51D03005) ในครั้งนี้ [1] Fresh Plaza. 2007. http://www.freshplaza.com/news_detail.asp? id=9313 (accessed 06/12/07). [2] Hildebrandt, G. and W. Klavehn. 1932. Verfahren zur Herstellung von 1-1-Phenyl-2-methylamino- propan-1-ol. German patent 548 459.