คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
สมาชิกในกลุ่ม (ม.๕/๑) ๑.นางสาวรวิศร บุญเจริญ (๒) ๒.นางสาวณัฐวรา เข็มเพชรเจษฎา (๓) ๓.นางสาวรัชกมล พรบัณฑิตย์ปัทมา (๔) ๔.นางสาวดวงกมล ซ่อนขำ (๖) ๕.นางสาวพิราวรรณ์ จันทร์ศักดิ์รา (๗) ๖.นางสาวอรสุมา ตันศรีตรัง (๙) ๗.นางสาวธมนวรรณ ดิลกคุณานันท์ (๒๘)
วรรณศิลป์ วรรณศิลป์ มีความหมาย ตามพจนานุกรรมฉบับบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ว่า “ศิลปะในการแต่งหนังสือ, ศิลปะทางวรรณกรรม,วรรณกรรมที่ถึงขั้นวรรณคดี, หนังสือที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี” โดยพิจารณาตั้งแต่การเลือกชนิดคำประพันธ์ให้เหมาะสมกับประเภทของงานเขียน ตกแต่งถ้อยคำให้ไพเราะสละสลวยอันเป็นลักษณะเฉพาะของภาษากวี ทำให้ผู้อ่านเกิดความสะเทือนอารมณ์
หลักเกณฑ์ ภาษากวีเพื่อสร้างความงดงามไพเราะแก่บทร้อยแก้ว หรือร้อยกรองนั้น มีหลักสำคัญที่เกี่ยวข้องกัน ๓ ด้าน ดังนี้ ๑.การสรรคำ ๒.การเรียบเรียงคำ ๓.การใช้โวหาร
การเรียบเรียงคำ การเรียบเรียงคำ คือ การจัดวางคำที่เลือกสรรแล้วให้มาเรียงร้อยกันอย่างต่อเนื่องตามจังหวะ ตามโครงสร้างภาษาหรือตามฉันทลักษณ์
การเรียบเรียงคำ การเรียบเรียงคำมีหลายวิธีเช่น - จัดลำดับความคิดหรือถ้อยคำจากสิ่งสำคัญจากน้อยไปมาก - จัดลำดับความคิดหรือถ้อยคำจากสิ่งสำคัญน้อยไปหามาก แต่กลับหักมุมความคิดผู้อ่านเมื่อถึงจุดสุดขั้น - จัดลำดับคำให้เป็นคำถามแต่ไม่ต้องการคำตอบหรือมีคำตอบอยู่ในตัวคำถามแล้ว
การเรียบเรียงคำ - เรียงถ้อยคำเพื่อให้ผู้อ่านแปลความหมายไปในทางตรงข้ามเพื่อเจตนาเยาะเย้ย ถากถาง - เรียงคำวลี ประโยค ที่มีความสำคัญเท่าๆกัน เคียงขนานกันไป
การใช้โวหาร -โวหารอุปมา เป็นการสรัางภาพพจน์ด้วยการเปรียบเทียบ -โวหารอุปมา เป็นการสรัางภาพพจน์ด้วยการเปรียบเทียบ -โวหารอุปลักษณ์ เป็นการเปรียบเทียบโดยนัย - โวหารอติพจน์ เป็นการกล่าวเกินจริง ให้เห็นคุณค่าด้านอารมณ์เป็นสำคัญ - โวหารอวพจน์ เป็นการกล่าวเพียงส่วนใดส่วนหนึ่ง แต่มีความหมายครอบคลุม
การใช้โวหาร - โวหารนามนัย เป็นภาพพจน์ที่เรียกชื่อสิ่งหนึ่งโดยใช้คำแทน - โวหารนามนัย เป็นภาพพจน์ที่เรียกชื่อสิ่งหนึ่งโดยใช้คำแทน -บุคลาธิษฐาน เป็นภาพพจน์ที่สมมติสิ่งต่างๆให้มีอากัปกิริยาเหมือนมนุษย์ -ปฏิพจน์ เป็นการใช้คำที่มีความหมายตรงกันข้าม - สัทพจน์ เป็นภาพพจน์ที่เลียนเสียงธรรมชาติ
ขอบคุณค่ะ