การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Dr.Smira Chittaladakorn
Advertisements

วัดตัวแปร(ตาม)การวิจัยในชั้นเรียน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
รายงานการวิจัย.
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การวิจัย RESEARCH.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
ความตรง (validity) ความตรงตามเนื้อหา (content validity)
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
4. Research tool and quality testing
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
รายงานการวิจัยเรื่อง
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การศึกษาความพึงพอใจของ
แบบสอบถาม ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (ด้านสังคมเศรษฐกิจ) ส่วนที่ 2 ความรู้
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
Criterion-related Validity
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
สื่อประกอบการสอน รายวิชา วิธีวิจัยวิทยาทางนิเทศศาสตร์ COMM (3-0- 6)____________________________________________________________________________________________.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
CLASSROOM ACTION RESEARCH
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ (Test Quality Analysis)
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การวิจัยในชั้นเรียน ( Classroom Action Research)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คุณภาพของเครื่องมือวัด
การวัดและประเมินผลการศึกษา
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์พีระ ครึกครื้นจิตร ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย เครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบสำรวจ แบบทดสอบ แบบสังเกต เป็นต้น ต้องมีคุณภาพที่ดี คุณภาพของเครื่องมือวิจัยที่สำคัญๆ ได้แก่ ++ ความตรง (Validity) ++ ความเที่ยง หรือความเชื่อถือได้ (Reliability) + อำนาจจำแนก (Discrimination)

ความตรง ๒. ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ (Criterion-related validity) หมายถึง ความถูกต้อง แม่นยำของเครื่องมือวิจัยที่วัดได้ในสิ่งที่ต้องการจะวัด(ตัวแปร) เช่น ต้องการวัดความพึงพอใจ ข้อคำถามของเครื่องมือ(แบบสอบถาม) ก็มุ่งแต่ประเด็นของความพึงพอใจเท่านั้น ความตรง มีหลายประเภท ดังนี้ ๑. ความตรงตามเนื้อหา (Content validity) ๒. ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ (Criterion-related validity) ๓. ความตรงตามโครงสร้าง (Construct validity)

ความตรงตามเนื้อหา ความตรงตามเนื้อหา เป็นการตรวจสอบว่าเครื่องมือวิจัย(แบบสอบถาม) วัดได้ตรงกับเนื้อหา หรือสาระของสิ่ง(ตัวแปร) ที่ต้องการจะวัด โดยทั่วไปจะให้ผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้นๆ เป็นผู้ตรวจสอบว่าเนื้อหาของข้อคำถามในเครื่องมือวิจัยที่สร้างขึ้นมามีความสอดคล้องกับเนื้อหาตามทฤษฎีหรือไม่ จำนวนผู้เชี่ยวชาญยิ่งมากก็ยิ่งดี แต่ที่นิยมกันมักใช้จำนวน ๓-๕ คน

การสรุปผลความตรงตามเนื้อหา โดยใช้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์ของเนื้อหา(Item-Objective Congruence : IOC) สูตรคำนวณ IOC = ΣR/n โดยที่ R คือผลคูณของคะแนนความสอดคล้องกับจำนวน ผู้เชี่ยวชาญในแต่ละระดับความสอดคล้อง n คือจำนวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด ผู้เชี่ยวชาญจะประเมินข้อคำถามใน ๓ ระดับ คือสอดคล้อง(๑ คะแนน) ไม่แน่ใจ(๐ คะแนน) และไม่สอดคล้อง(-๑ คะแนน) ค่า IOC มีค่าอยู่ระหว่าง -๑ ถึง ๑ ค่า IOC ควรมีค่าตั้งแต่ ๐.๕ ขึ้นไป ถ้าต่ำกว่าค่านี้ข้อคำถามนี้ต้องปรับปรุงแก้ไข

ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ เป็นการตรวจสอบว่าเครื่องมือวิจัยนั้นวัดในสิ่งที่ต้องการจะวัดได้แม่นยำถูกต้องหรือไม่ โดยดูจากความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนจากเครื่องมือวิจัย(แบบสอบถาม)กับคะแนนจากเกณฑ์ภายนอก มี ๒ แบบ ดังนี้ ๑. ความตรงตามสภาพที่เป็นจริงในปัจจุบัน ( Concurrent validity) ๒. ความตรงตามการทำนาย (Predictive validity) สรุปผลจากการคำนวณหาค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน

ความตรงตามโครงสร้าง เป็นการตรวจสอบว่าเครื่องมือวิจัยนั้นวัดได้ถูกต้องแม่นยำ ครอบคลุม และครบถ้วนตามขอบเขตของความหมาย องค์ประกอบตามทฤษฎี การคำนวณมีได้หลายวิธี ดังนี้ ๑. วิธีเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ทราบค่า(Known group) ๒. วิธีวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor analysis)

ความเที่ยง หรือความเชื่อถือได้ หมายถึง ความคงที่ของผลที่ได้จากการวัดด้วยเครื่องมือวิจัยชุดเดียวกันกับคนกลุ่มเดียวกัน ในช่วงเวลาต่างกัน การหาค่าความเที่ยงมีการวัดหลายแบบด้วยกัน ดังนี้ ๑. การวัดความคงที่ (Measure of stability) ๒. การวัดความสมมูลกัน (Measure of equivalance) ๓. การวัดความสอดคล้องภายใน (Measure of internal consistency)

การวัดความคงที่ เป็นการนำเครื่องมือวิจัยไปวัดกับคนกลุ่มเดียวกัน สองครั้ง โดยเว้นระยะเวลาให้ห่างกันพอสมควร เรียกวิธีนี้ว่า วิธีสอบซ้ำ(test-retest method) แล้วนำผลคะแนนที่ได้มาคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน nΣxy - ΣxΣy สูตร rxy = ___________________ √[n Σx2­(Σx2)] [n Σy2­(Σy2)] โดยที่ rxy ก็คือค่าความเที่ยงนั่นเอง

การวัดความสมมูลกัน เป็นการนำเครื่องมือวิจัยที่มีความคล้ายกัน สองฉบับ หรือเรียกว่าแบบวัดคู่ขนาน(parallel test) มาใช้วัดกับคนกลุ่มเดียวกัน แล้วนำคะแนนผลการวัดทั้งสองฉบับมาคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน

การวัดความสอดคล้องภายใน เป็นการวัดโดยใช้เครื่องมือวิจัยฉบับเดียว และวัดครั้งเดียว แล้วนำมาคำนวณค่าความเที่ยงด้วยวิธีต่างๆ ดังนี้ ๑. วิธีแบ่งครึ่ง(split-half method) โดยการนำเครื่องมือวิจัยทั้งฉบับมาแบ่งครึ่งจำนวนข้อคำถาม เช่น ส่วนข้อคี่ และส่วนข้อคู่ แล้วนำผลการวัดของทั้งส่วนมาคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ค่าที่ได้เป็นค่าความเที่ยงแค่ครึ่งฉบับ ต้องนำมาปรับเป็นทั้งฉบับจากสูตร rtt = 2rhh/(1+rhh)

๒. วิธีของคูเดอร์ ริชาร์ดสัน(kuder and richardson) ได้เสนอสูตรหาความเที่ยงไว้คือ สูตรที่ ๒๐ เรียกว่า K-R ๒๐ และ K-R ๒๑ โดยใช้กับเครื่องมือที่มีการตรวจให้คะแนน ๑ เมื่อตอบถูก และคะแนน ๐ เมื่อตอบผิด เช่นแบบวัดความรู้ สูตร K-R ๒๐ r = [n/(n-1)] [1-(Σpq/st2) โดยที่ r คือ ค่าความเที่ยง n คือ จำนวนข้อคำถามในแบบวัด p คือ สัดส่วนของผู้ที่ตอบถูกในแต่ละข้อ q คือ สัดส่วนของผู้ที่ตอบผิดในแต่ละข้อ st2 คือ ความแปรปรวนของคะแนนรวมของผู้ตอบทั้งหมด

๓. วิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา(ά Coefficient)คิดขึ้นโดย conbach ใช้กับเครื่องมือวิจัย(แบบสอบถาม)ที่มีการวัดแบบมาตราส่วนประมาณค่า(rating scale) เช่น เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย ค่าความเที่ยงคำนวณได้จากสูตร ά = (n/n-1)(1-(Σбi2/ бt2)) โดยที่ ά คือสัมประสิทธิ์ความเที่ยง n คือจำนวนข้อของแบบสอบถาม бi2 คือความแปรปรวนของคะแนนของข้อคำถามรายข้อ бt2 คือความแปรปรวนของคะแนนของแบบสอบถามทั้งฉบับ

การสรุปผลค่าความเที่ยงนั้นต้องมีค่าตั้งแต่ ๐ การสรุปผลค่าความเที่ยงนั้นต้องมีค่าตั้งแต่ ๐.๘๐ ขึ้นไป ถ้าได้ค่าต่ำกว่านี้ต้องแก้ไข การปฎิบัติ โดยการนำเครื่องมือวิจัยไปทดลองใช้ อย่างน้อย ๓๐ ราย แล้วนำมาคำนวณค่าตามสูตร ปัจจุบันนิยมคำนวณโดยใช้โปรแกรม SPSS