ดอกไม้ภาคเหนือ จัดทำโดย เด็กหญิง ปัชลีย์ เจริญปิยพัฒน์ ชั้น ม.1/10 เลขที่ 8 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
ดอกไม้ภาคเหนือ ดอกพวงแสต ดอกเสี้ยว ดอกพิกุล ดอกทองกวาว ดอกเสลา ดอกประตู่ ดอกยมหิน ดอกบัวตอง ดอกธรรมรักษา
ดอกพวงแสต ดอกไม้ประจำจังหวัด เชียงรายชื่อสามัญ Orange Trumpet, Flame Flower. ชื่อวิทยาศาสตร์ Pyrostegia venusta., Miers.
ดอกเสี้ยว ดอกไม้ประจำจังหวัด ตาก, น่าน ชื่อสามัญ Orchid Tree, Purple Bauhinia ชื่อวิทยาศาสตร์ Bauhinia variegata L วงศ์ LEGUMINOSAE ชื่ออื่น เสี้ยวป่าดอกขาว การขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด สภาพที่เหมาะสม เติบโตได้ดีในดินที่ระบายน้ำดี ความชื้นสูง แสงแดดจัด ถิ่นกำเนิด อินเดีย, มาเลเซีย
ดอกพิกุล ดอกไม้ประจำจังหวัด กำแพงเพชร, ยะลา, ลพบุรี ชื่อสามัญ Bullet Wood, Spanish Cherry ชื่อวิทยาศาสตร์ Mimusops elengi Linn. วงศ์ SAPOTACEAE ชื่ออื่น กุน (ภาคใต้), แก้ว (ภาคเหนือ), ซางดง (ลำปาง), พิกุลป่า (สตูล), พิกุลเขา พิกุลเถื่อน (นครศรีธรรมราช), พิกุล (ทั่วไป) การขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด, ตอนกิ่ง สภาพที่เหมาะสม ดินทุกชนิด แสงแดดจัด ถิ่นกำเนิด อินเดีย, พม่า และมาเลเซีย
ดอกทองกวาว ดอกไม้ประจำจังหวัด เชียงใหม่, ลำพูน, อำนาจเจริญ, อุดรธานี ชื่อสามัญ Flame of the forest, Bastard Teak, Bengal kinotree, Kino tree ชื่อวิทยาศาสตร์ Butea monosperma วงศ์ LEGUMINOSAE ชื่ออื่น กวาว ก๋าว (ภาคเหนือ), จอมทอง (ภาคใต้), จ้า (เขมร), ทองธรรมชาติ ทองพรหมชาติ ทองต้น (ภาคกลาง), ดอกจาน (อิสาน) การขยายพันธุ์ การเพาะเมล็ด สภาพที่เหมาะสม ดินร่วนซุย แสงแดดจัด ถิ่นกำเนิด อินเดีย
ดอกเสลา ดอกไม้ประจำ นครสวรรค์ ชื่อวิทยาศาสตร์ Lagerstroemia loudonii Binn. วงศ์ LYTHRACEAE ชื่ออื่น เกรียบ ตะเกรียบ (ชอง-จันทบุรี), ตะแบกขน (นครราชสีมา), เสลาใบใหญ่ (ทั่วไป), อินทรชิต การขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด สภาพที่เหมาะสม ดินร่วนซุย แสงแดดจัด ถิ่นกำเนิด เอเชียเขตร้อน
ดอกประตู่ ดอกไม้ประจำจังหวัด ชลบุรี, ร้อยเอ็ด, ระยอง, อุตรดิตถ์ ชื่อสามัญ Angsana, Padauk ชื่อวิทยาศาสตร์ Pterocarpus indicus Willd วงศ์ LEGUMINOSAE ชื่ออื่น สะโน (ภาคใต้) การขยายพันธุ์ โดยการเพาะเมล็ด สภาพที่เหมาะสม ดินทั่วไป ชอบแสงแดดจัด ถิ่นกำเนิด อินเดีย, พม่า, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์
ดอกยมหิน ดอกไม้ประจำจังหวัด แพร่ ชื่อสามัญ Almond-wood, Chickrassy Chittagong-wood ชื่อวิทยาศาสตร์ Chukrasia velutina Roem. วงศ์ MELIACEAE ชื่ออื่น โค้โย่ง (กะเหรี่ยง-เชียงใหม่), ช้ากะเดา (ใต้), ยมขาว (เหนือ), ยมหิน มะเฟืองต้น สะเดาช้าง สะเดาหิน (กลาง), ริ้งบ้าง รี (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), เสียดค่าย (สุราษฎร์ธานี) การขยายพันธุ์ โดยการเพาะเมล็ด สภาพที่เหมาะสม เป็นไม้กลางแจ้ง เจริญเติบโตได้ดีในสภาพดินทุกชนิด ต้องการน้ำและความชุ่มชื้นปานกลาง ถิ่นกำเนิด ป่าเบญจพรรณแล้งและชื้นทั่วไป
ดอกบัวตอง ดอกไม้ประจำจังหวัด แม่ฮ่องสอน ชื่อสามัญ Mexican Sunflower Weed ชื่อวิทยาศาสตร์ Tithonia diversifolia (Hemsl.) A. Gray. วงศ์ COMPOSITAE ชื่ออื่น พอหมื่อนี่ การขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด สภาพที่เหมาะสม แสงแดดจัด ถิ่นกำเนิด เม็กซิโก
ดอกธรรมรักษา ดอกไม้ประจำจังหวัด ลำปาง ชื่อสามัญ Heliconia ชื่อวิทยาศาสตร์ Heliconia spp. วงศ์ HELICONIACEAE ชื่ออื่น ก้ามกุ้ง การขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด, แยกกอ, เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ สภาพที่เหมาะสม ดินร่วนซุย ดินร่วนปนทราย แสงแดดจัด ถิ่นกำเนิด อเมริกาใต้