Counseling Schizophrenia

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นพ. ภาณุ คูวุฒยากร จิตแพทย์ รพ. สวนปรุง
Advertisements

หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
ฝึกปฏิบัติการให้การบำบัดแบบสั้น
โรคสมาธิสั้น.
จิตเวชศาสตร์ฉุกเฉิน Psychiatric Emergency
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
Thailand Research Expo
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
การจำแนก ประเภทความพิการ.
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
1 3 - Part 7 แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินหลังเรียน.
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
สุขภาพจิต และการปรับตัว
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
การดูแลผู้ป่วยได้รับสารพิษเบื้องต้น
Myasthenia Gravis.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
การส่งเสริมพัฒนาการและพฤติกรรมเด็กอย่างสร้างสรร
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
สุขภาพจิต ภาวะความสมบูรณ์ของจิตใจ มีพัฒนาการด้านจิตใจ และอารมณ์อย่างสมบูรณ์ เหมาะกับวัย.
อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
การเป็นลมและช็อก.
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
Technics in Counseling for Renal Replacement therapy
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
โรคเบาหวาน ภ.
ความผิดปกติทางเพศ เฟตติชิซึ่ม (fetishism).
Succsess story กลุ่มงานฟื้นฟูสมรรถภาพหญิง
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
ยาเสพติด ยาเสพติด คนรุ่นใหม่ ร่วมต้านภัย เราจะป้องกันยาเสพติด
สุขภาพจิตที่ดี โรคจิต โรคประสาท การฝึกนั่งสมาธิ ข้อแตกต่าง โรคจิต
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
งานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รพ.หาดใหญ่
Tonsillits Pharynngitis
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
ประสบการณ์ การทำงานเครือข่ายชมรมญาติ นางเพลินพิศ จันทรศักดิ์ นักสังคมสงเคราะห์เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลศรีธัญญา นา.
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Counseling Schizophrenia ภญ.ธัญนันท์ เดชานุภาพฤทธา งานบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยจิตเวช โรงพยาบาลสกลนคร

Schizophrenia (โรคจิตเภท) โรคจิตเภท คือโรคจิตชนิดหนึ่ง ที่มีความคิดแปลก-แยก จากความเป็นจริง ส่งผลให้มีพฤติกรรมแปลกประหลาด แสดงออกไม่เหมาะสม เช่น พูดไม่ปะติดปะต่อ พูดและ ยิ้มคนเดียว แยกตัวจากสังคม หวาดระแวงคนรอบข้าง ไม่สนใจดูแลตัวเอง พฤติกรรมถดถอยเป็นเด็ก ไม่ค่อยมี การตอบสนองทางอารมณ์ การทำงานบกพร่อง

สาเหตุการเกิดโรค ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุการเกิดโรคที่แท้จริง แต่ทราบว่าเกิดจากสาเหตุร่วมกัน เช่น - ความผิดปกติของสารสื่อประสาทในสมอง - พันธุกรรม - จิตสังคม เช่น ความสัมพันธ์ที่ไม่สนิทดีนักกับมารดา ความกดดันทางอารมณ์ในครอบครัว ความเครียด เป็นต้น

อาการของโรคจิตเภท อาการทางบวก (positive symptoms) : อาการที่คนปกติไม่มี แต่ผู้ป่วยมี อาการหลงผิด เชื่อในเรื่องที่ไม่เป็นความจริง อาการประสาทหลอน อาจได้ยินเสียงแว่วหรือเห็นภาพหลอน การพูดผิดปกติ เช่นพูดด้วยภาษาแปลกๆสร้างขึ้นเอง มีพฤติกรรมการเคลื่อนไหวแบบไม่มีเป้าหมายหรือวิตถาร

อาการของโรคจิตเภท อาการทางลบ (negative symptoms) : อาการที่คนปกติมี แต่ผู้ป่วยขาดหายไป การตอบสนองทางอารมณ์ลดลงหรือไร้อารมณ์ ไม่อยากเข้าสังคมหรือแยกตนเอง ไม่สบตาคน ไม่ดูแลตัวเอง ไม่อาบน้ำ ไม่โกนหนวด กลางคืนไม่นอน ไม่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เหม่อลอย สมาธิไม่ดี พูดไม่ค่อยรู้เรื่อง ไม่ยอมรับตนเองว่าผิดปกติ จึงไม่ยอมรักษาหรือรับการช่วยเหลือ

การรักษาโรคจิตเภท 1.การรักษาด้วยยารักษาโรคจิต โดยทั่วไปมี 2 กลุ่ม กลุ่มดั่งเดิม ออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของระบบโดปามีน ได้แก่ chlorpromazine, perphenazine, thioridazine, haloperidol, trifluoperazine ซึ่งอาจพบอาการข้างเคียงได้แก่ ง่วงนอน ความดันต่ำ ท้องผูก ปากแห้ง ตาพร่า ตัวเกร็ง เคลื่อนไหวช้า มือสั่น กระวนกระวาย นั่งอยู่ไม่สุข

การรักษาโรคจิตเภท 1.การรักษาด้วยยารักษาโรคจิต โดยทั่วไปมี 2 กลุ่ม กลุ่มใหม่ ออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานทั้งระบบโดปามีน และเซโรโทนิน ใช้รักษาอาการโรคจิตทางบวกระยะ เฉียบพลันและป้องกันการกำเริบซ้ำได้แก่ quetiapine, olanzapine, risperidone, ziprasidone, clozapine อาจพบอาการข้างเคียงได้แก่ ง่วงนอน น้ำหนักเพิ่ม คลื่นไส้ อาเจียน ปวกมึนศรีษะ เม็ดเลือดขาวต่ำ

การรักษาโรคจิตเภท 2.การรักษาด้วยการทำให้ชักด้วยไฟฟ้า 3.การรักษาทางจิตสังคม การให้ความรู้ด้านโรคและแนวทางการรักษา พฤติกรรมบำบัด กลุ่มบำบัด จิตบำบัด ครอบครัวบำบัด ฟื้นฟูสมรรถภาพทางเชาว์ปัญญา ฝึกอาชีพและมีระบบรับจ้างงานผู้ป่วย

การให้คำแนะนำปรึกษา ประเด็น Counseling : 1.สภาวะโรค และการดำเนินโรค - สารสื่อประสาท กับอาการที่เกิดกับผู้ป่วย 2.การออกฤทธิ์ของยาและผลจากยา - ยาไปช่วยให้อาการของผู้ป่วยดีขึ้นอย่างไร - ระยะเวลาที่ยาจะออกฤทธิ์ 3.อาการข้างเคียงและการแก้ไขเบื้องต้น - ง่วงนอน, Anticholinergic, EPS 4.วิธีรับประทานยา และความสำคัญของการรับประทานยาต่อเนื่อง

Side effect of Dopamine antagonists Dopamine antagonist : chlorpromazine, perphenazine, thioridazine, haloperidol, trifluoperazine Extrapyramidal symptom(EPS) ปากแข็ง ลิ้นแข็ง น้ำลายไหล กลืนลำบาก 1.Akathisia 2.Psuedoparkinsonism 3.Acute dystonia 4.Tardive dyskinesia

1.Akathisia : กระวนกระวาย ผุดลุกผุดนั่ง ซอยเท้า แนวทางการแนะนำเบื้องต้น พบในช่วงแรกของการได้รับยา และจะดีขึ้นภายใน 2-3 อาทิตย์ ยาที่ใช้รักษาอาการ Akathisia ได้แก่ Propanolol(10) 1x2 หรือ 1x3 ร่วมกับอาจให้ BZD เช่นให้ Diazepam(2) 1x2 หรือ 1x3 (เลือกตัวใดตัวหนึ่งหรือทั้งสองตัว)

2.Psuedoparkinsonism : เดินตัวแข็ง มือ/ขาสั่น แนวทางการแนะนำเบื้องต้น ทดลองเพิ่มยา Artane, Benzhexol, Benadryl (กรณีที่ไม่สามารถมาพบแพทย์ได้) ให้ผู้ป่วยรับประทาน Artane หรือ Benzhexol เพิ่มจากเดิมอีก 2-5 mg/day ได้ถึง 15 mg/day

3.Acute dystonia : กล้ามเนื้อเกร็ง มักเป็นบริเวณคอ หลัง และ lateral ocular muscle แนวทางการแนะนำเบื้องต้น - ให้รีบพาผู้ป่วยไปโรงพยาบาลใกล้บ้านและแพทย์จะฉีดยาบรรเทาอาการ - การรักษา ได้แก่ Cogentin 1 amp หรือ Benadryl 50 mg iv/im หรือ Diazepam 1 amp iv slowly push - ให้ผู้ป่วยรับประทาน Artane หรือ Benzhexol เพิ่มจากเดิมอีก 2-5 mg/day ได้ถึง 15 mg/day

4.Tardive dyskinesia : การเคลื่อนไหวผิดปกติ อาการดูดริมฝีปาก การเคลื่อนไหวผิดปกติ ที่ไม่มีวัตถุประสงค์ แนวทางการแนะนำเบื้องต้น - กรณีที่เป็นแต่แรกๆ ให้ส่งพบจิตแพทย์ ซึ่งอาจจะช่วยทำให้อาการหายไปได้ - จิตแพทย์จะพิจารณา เปลี่ยนยาเป็น Atypical antipsychotic (Clozapine)

Sedation : ง่วงนอน ผลจากการ block Histamine receptor แนวทางการแนะนำเบื้องต้น -หากจำเป็นต้องลดยาจริงๆ ตัวที่ลดได้ได้แก่ Diazepam, Lorazepam, Chlodiazepoxide, Chlopromazine, thioridazine - หลีกเลี่ยงการลดยา Perphennazine, Haloperidol, Trifluoperazine, Clozapine, Risperidone เพราะ”อาการทางจิตอาจกำเริบ” แนะนำผู้ป่วยหรือญาติแจ้งจิตแพทย์เมื่อมาตรวจ

Anticholinergic effect ผลจากการ block Mascarinic receptor แนวทางการแนะนำเบื้องต้น -ปากแห้ง คอแห้ง : จิบน้าบ่อยๆ อมลูกอม เคี้ยวหมากฝรั่ง -ท้องผูก : ทานอาหารที่มีกากเยอะๆ ดื่มน้ามากๆ ออก กำลังกาย -กรณีปัสสาวะลำบาก: ส่งปรึกษาแพทย์เพื่อ R/O cystitis ก่อน หากเป็นจากยา พิจารณาลดยา Chlopromazine, Thioridazine, หรือยาอื่นๆที่มีผลเช่น Artane, Amitryptilline -ตาลาย : ส่งตรวจหาสาเหตุจากโรคตา หากไม่ใช่โรคตา อาจส่งปรึกษาแพทย์เพื่อพิจารณาลดยา Chlopromazine, Thioridazine, หรือยาอื่นๆที่มีผลเช่น Artane, Amitryptilline

วิธีการสังเกตอาการกลับเป็นซ้า โดยอาจเกิดจาก การให้คำแนะนำปรึกษา วิธีการสังเกตอาการกลับเป็นซ้า โดยอาจเกิดจาก Inadequate dose หรือ nonadherence การพูด : พูดเพ้อเจ้อ พูดคนเดียว ซึมมากไม่พูดคุย พฤติกรรม : มีพฤติกรรมแปลกๆ เช่น เอะอะโวยวาย คลุ้มคลั่ง หูแว่ว อารมณ์หงุดหงิด ฉุนเฉียว หัวเราะ ยิ้มคนเดียว ซึมเศร้า เบื่อหน่ายท้อแท้ กลางคืนไม่นอน ท่าทาง : มึนงง สับสน เหม่อลอย ความคิดผิดปกติ : หวาดระแวง ประสาทหลอน กลัวผิดปกติ มีความคิดอยากตาย

ประสบการณ์จากการให้คำปรึกษา ผู้ป่วยจิตเวชมักปฏิเสธความเจ็บป่วยของตัวเอง การสื่อสารกับผู้ป่วยอาจเน้นไปที่ลักษณะอาการที่เป็น (หรือสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการ) มากกว่าการบอกว่าเป็นโรคอะไร(Stigma) สร้างเป้าหมายของผู้ป่วย เช่น ลดผลกระทบจากอาการที่ผู้ป่วยเป็น(ผลกระทบต่อตัวผู้ป่วยเองและญาติ) และช่วยส่งเสริมให้ผู้ป่วยไปถึงเป้าหมายที่ตั้งไว้ ครอบครัวและชุมชนมีส่วนสำคัญต่อความร่วมมือในการรักษาของผู้ป่วย

ประสบการณ์จากการให้คำปรึกษา(ต่อ) ญาติมีส่วนสำคัญอย่างมากในการรับประทานยาของผู้ป่วยจิตเวช (ทั้งในตอน Acute และระยะยาว เพื่อป้องกันการกำเริบ) กรณีที่ได้รับยาฝ่ายกายต้องแนะนำว่าใช้ร่วมกับยาจิตเวชได้ การ Counseling เพื่อให้เกิดความร่วมมือนั้นต้องใช้เวลานาน

ประสบการณ์จากการให้คำปรึกษา(ต่อ) Nonadherence - อาการดีขึ้นจึงหยุดยา - ดื่มเหล้าจึงหยุดกินยาจิตเวช - นอนหลับได้ ไม่เครียด จึงไม่กินยา - เกิดอาการข้างเคียงจึงหยุดยา หรือกินบางเวลา ในรายที่มีปัญหายุ่งยากซับซ้อน ควรมีการดูประวัติเพิ่มเติมใน OPD card เพื่อพิจารณาสาเหตุอื่นๆร่วม เช่น ปัญหาครอบครัว อาจดูที่ Family History และการช่วยกันแก้ไขปัญหาอาจจะต้องทำในรูปแบบของสหสาขาวิชาชีพ

ขอบคุณที่ตั้งใจฟังค่ะ