เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

วิชาสัมมนา ( ) เรื่อง ผลของพ่อพันธุ์ดูร็อคและพ่อพันธุ์เพียเทรนต่อสมรรถนะการเจริญเติบโต ลักษณะซากและคุณภาพเนื้อของสุกรขุน Effect of Duroc and Pietrain-sired.
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Cloning : การโคลน , โคลนนิง
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
A wonderful of Bioluminescence
สารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิต
สื่อการสอน เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ นายปราโมทย์ จินดางาม
โครโมโซม.
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
ดีเอ็นเอ และวิทยาศาสตร์พันธุกรรม
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
พันธุกรรมและวิวัฒนาการ
7.Cellular Reproduction
whey เวย์ : casein เคซีน
ฮอร์โมนในน้ำนมแม่ Insulin growth factorช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของร่างกายเด็ก Thyroxine , thyrotropin-releasing hormone - Thyroxineช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของลำไส้เด็กให้สมบูรณ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
การทำธุรกิจแบบยั่งยืน การตลาดแบบแม่ไก่อารมณ์ดี
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
รายชื่อสมาชิก กลุ่ม1 1.นายวิสุทธิ์ ศิลารัตน์ ม.6/6 เลขที่ 5ก
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
การผสมเทียม นางแก้วตา สุเดชมารค วิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
ความหลากหลายทางชีวภาพ
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
วิกฤตคุณภาพอุดมศึกษาไทย
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ดีเอ็นเอและเทคโนโลยีชีวภาพ
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
การประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมและแนวโน้มทางพันธุกรรมของสมรรถนะการเจริญเติบโตและผลผลิตไข่ในไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ) วุฒิไกร บุญคุ้ม, มนต์ชัย ดวงจินดา,
เทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงพันธุ์สัตว์
การประมาณกราฟการให้นมเนื่องจากอิทธิพลทางพันธุกรรม
การจัดการข้อมูลเพื่อทดสอบพันธุ์
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
Biotechnology applied in animal breeding
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
DNA marker Selection (transformation, breeding) Identification
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
เชื้ออะโกรแบคทีเรียม
หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
Animal Breeding and Improvement การปรับปรุงพันธุ์สัตว์
โครงการพัฒนาคุณภาพน้ำนมดิบ กลุ่มเกษตรกรรายย่อยบ้านห้วยเตย จังหวัดขอนแก่น ศวพ.ขอนแก่น.
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
พันธุวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมพันธุศาสตร์
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology รศ.ดร.มนต์ชัย ดวงจินดา ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Nutrition Probiotics Prebiotics Immunobiotics Xenobiotics Single cell protein Reproduction Artificial insemination Embryo transfer Cloning In Vitro Fertilization Recombinant hormone Breeding Transgenic animal Gene markers Genetic diversity

Nutrition Probiotics จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ต่อร่างกายมนุษย์ และสัตว์ จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ต่อร่างกายมนุษย์ และสัตว์ ทำหน้าที่ช่วยปรับสมดุลของจุลินทรีย์ ในทางเดินอาหาร  เช่น Lactic acid bacteria (LAB) Bifidobacteria  etc. Prebiotics สารอาหารพวกคาร์โบไฮเดรตที่ ร่างกายไม่สามารถย่อยได้ เป็นอาหารของ Probiotic เช่น Oligosaccharide Fructoligosaccharide  etc.

Nutrition Immunobiotics เป็น Probiotics ที่ช่วยส่งเสริมระบบภูมิคุ้มกันของสิ่งมีชีวิต Probiotics (ImmunobioticTM) Plus multivitamin with probiotics Supporing immune system

Nutrition Xenobiotics เป็นสารเคมีที่พบในสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น แต่ไม่ใช่สารที่ผลิตขึ้นในสิ่งมีชีวิตที่เราให้ ไป สารกระตุ้นการเติบโตในโคขุน (Clenbutorol), รวมถึง ยาบางชนิด หรือ antibiotic ที่ไม่ได้ให้ในปริมาณที่ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย

Nutrition Single Cell Protein (SCP) โปรตีนเซลล์เดียว หรือ เป็นโปรตีนที่ผลิตได้จากจุลินทรีย์ จุลินทรีย์จะมีการเจริญในลักษณะเป็นเซลล์เดียวหรือเส้นใยมากกว่าที่จะเจริญเป็น หลายเซลล์ที่ซับซ้อน นำมาใช้เป็นแหล่งอาหารโดยตรงสำหรับมนุษย์ หรือเป็นอาหารสัตว์ ได้แก่ แบคทีเรีย ยีสต์ รา และสาหร่าย

Reproduction Artificial insemination เพิ่มความก้าวหน้าทางพันธุกรรม (G) ผ่านทางพ่อพันธุ์เป็นหลัก

Reproduction In Vitro Fertilization (IVF)

Reproduction Embryo transfer เป็นการนำตัวอ่อนที่เกิดจากการ ผสมพันธุ์ระหว่างตัวอสุจิของพ่อ พันธุ์และไข่ของแม่พันธุ์ที่ คัดเลือกไว้แล้วเก็บออกมาจาก มดลูกของแม่พันธุ์ และนำไป ฝากใส่ไว้ให้เติบโตในมดลูกของ ตัวเมียอีกตัวหนึ่งจนคลอด

Reproduction Multiple Ovulation and Embryo Transfer (MOET) ตัวให้ X ตัวรับ

Reproduction Cloning กระบวนการสร้างสิ่งที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกันกับสิ่งที่มีอยู่ก่อน ทำได้ 2 วิธี ได้แก่ 1. การแยกเซลล์หรือตัดแบ่งตัวอ่อนในระยะก่อนการฝังตัว (blastomere separation or embryo bisection) 2. การย้ายฝากนิวเคลียส (nuclear transfer or nuclear transplantation)  

Recombinant Hormone Peptide Hormone ที่สร้างโดยใช้กระบวนการ genetic engineering ตัดต่อยีนลงในในแบคทีเรีย (E.coli) จากนั้นให้แบบ ทีเรียเป็นตัวผลิตให้ เช่น Bovine Growth hormone (Bovine somatotropin, BST) ฉีดให้โคนมเดือนละ 2 ครั้ง ช่วยเพิ่มน้ำนม

Breeding Transgenic animal

Gene markers Breeding Marker Assisted Selection (MAS) การใช้เครื่องหมายพันธุกรรมช่วยในการคัดเลือก ให้สัตว์มีพันธุกรรมตามที่ต้องการ RFLP RAPD AFLP Microsatellite SSCP SNPs

Breeding เทคนิค PCR เป็นเทคนิคการเพิ่มชิ้นยีน (หรือดีเอ็นเอ) ที่ต้องการด้วยเครื่องมือเฉพาะเรียก Thermal cycler (นิยมเรียกง่ายๆว่าเครื่อง PCR)

Breeding PCR-RFLP ขั้นตอนที่ 1 ตรวจหายีนที่ต้องการจาก DNA ของสัตว์ด้วยวิธี PCR ขั้นตอนที่ 2 นำยีนที่ได้มาตัดด้วยเอ็นไซม์ สัตว์ปกติ/ไม่ปกติ จะได้ รูปแบบต่างกัน

ตรวจสอบยีนต้านทานโรค/ความผิดปกติทางพันธุกรรม Breeding ตรวจสอบยีนต้านทานโรค/ความผิดปกติทางพันธุกรรม ยีนเครียดในสุกร สัตว์ปกติ/เครียดง่าย เมื่อใช้เอ็นไซม์ตัดแล้วจะได้รูปแบบต่างกัน N = ปกติ n = เครียดง่าย 600bp 400bp 200bp Nn NN Nn Nn nn nn NN NN Nn NN Nn nn nn nn Nn nn มียีนเครียด แฝงอยู่ เครียดง่าย ปกติ

ยีนที่มีการศึกษาและทดสอบแล้ว Breeding ยีนที่มีการศึกษาและทดสอบแล้ว HAL Halothane gene (ยีนเครียดในสุกร) IGF2 (%เนื้อแดง) Estrogen Receptor (ยีนลูกดกในสุกร) MC4R (%ซากสุกร) Napole (นุ่มเนื้อในสุกร) BoLA (ยีนต้านทานโรคเต้านมอักเสบ) Kappa casein gene (ยีนโปรตีนและน้ำนม)

QTL linked marker Breeding marker ที่ควรนำไปใช้ ในการคัดเลือก SSC1 MARBLING Line-Cross 4.5 QTL position 4.0 3.5 -logP 1% Chr.w 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 0.5 0.0 cM 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 110 120 130 marker ที่ควรนำไปใช้ ในการคัดเลือก = gene marker

Breeding

Genetic diversity Breeding การศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต Phylogenetic tree Dendogram

Breeding การจำแนกชนิดของปลา ศึกษาวิวัฒนาการ

Breeding จำแนกแมลงต่างๆ

The End…