รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาวะฉุกเฉินในผู้ป่วยมะเร็ง ที่ต้องรักษาด้วยรังสี
Advertisements

ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
Adult Basic Life Support
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555”
สมมุติว่าขณะนี้เป็นเวลาประมาณหกโมงเย็นและคุณกำลังขับรถกลับบ้านคนเดียวหลังจากเสร็จสิ้นวันทำงานอันแสนเหน็ดเหนื่อย คุณรู้สึกเหนื่อยล้าและคับข้องใจเป็นอย่างมาก…
NAVY PILLOW 2012 (หมอนน้ำ ).
การช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในเด็ก (Basic CPR)
เรื่อง การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
Thailand Research Expo
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การดูแลผู้ป่วยโรคปวดหลังส่วนล่าง
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
Fracture tibia and fibula
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ที่ กค /ว 46 วันที่ 8 มิถุนายน 2555
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ห้องฉุกเฉิน 4 : ปอดจ๋า ห้องฉุกเฉิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4: ปอดจ๋า.
ปัสสาวะเป็นเลือด แผนการเรียนรู้ที่ 2:
เหตุการณ์จำลองกรณีเกิดแผ่นดินไหว
( Cardiopulmonary Resuscitation : CPR )
v v v v อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะและการปั๊มโลหะ
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การเป็นลมและช็อก.
การชักและหอบ.
เจ็บแน่นหน้าอก.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
การช่วยเหลือผู้จมน้ำ
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
สุขภาพจิตที่ดี โรคจิต โรคประสาท การฝึกนั่งสมาธิ ข้อแตกต่าง โรคจิต
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการความปลอดภัย
Tonsillits Pharynngitis
ขอบเขตความรับผิดชอบของพยาบาลในการบริหารยา
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
การช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนา นวัตกรรมผ้ายืดมหัศจรรย์
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง ลักษณะการประสบอันตรายหรือ เจ็บป่วยที่คณะกรรมการการแพทย์ จะ พิจารณาให้นายจ้างจ่ายค่ารักษาพยาบาล.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ ภยันตรายของทรวงอก รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ

ภยันตรายของทรวงอก ภาวะที่ผนังทรวงอกและ/หรืออวัยวะภายในทรวงอก เช่น หัวใจ ปอด หลอดเลือด หลอดลม หลอดอาหาร และกระบังลม ได้รับบาดเจ็บจากแรงภายนอกมากระทำ

ภยันตรายของทรวงอก: มี 2 แบบ 1.แบบที่มีรูทะลุจากภายนอกเข้าไปในทรวง [penetrating   หรือ open-chest  trauma] 2. แบบที่ไม่มีรูทะลุสู่ทรวงอก  เรียกว่า non  penetrating  หรือ  close-chest trauma

ภยันตรายของทรวงอก 1.แบบที่มีรูทะลุจากภายนอกเข้าไปในทรวง เช่น ถูกยิง ถูกแทง วัตถุอื่น ๆ ทะลุเข้าไป   เป็นอันตรายรุนแรงได้เนื่องจาก ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความดันภายในทรวงอก

ภยันตรายของทรวงอก 2.แบบที่ไม่มีรูทะลุสู่ทรวงอก 2.แบบที่ไม่มีรูทะลุสู่ทรวงอก   อุบัติเหตุบนท้องถนนทำให้เกิดภยันตรายประเภทนี้มากที่สุด เช่น ถูกพวงมาลัยกระแทกหน้าอก

ภยันตรายของทรวงอก ผู้ป่วยที่ได้รับภยันตรายทรวงอกทุกรายควรได้รับการตรวจอย่างละเอียดจากแพทย์ให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้

ความผิดปกติที่พบบ่อยใน ผู้ป่วยที่ได้รับภยันตรายทรวงอกมักเกิด

Pneumothorax ภาวะที่มีลมอยู่ในช่องเยื่อหุ้มปอด อาจเกิดจาก มีรูทะลุผนังทรวงอกทำให้อากาศผ่านเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอดโดยตรง หรือ กระดูกซี่โครงหักทิ่มแทงเนื้อปอดทำให้ ฉีกขาด เกิดลมรั่วเข้าไปในเยื่อหุ้มปอดได้

Pneumothorax แบ่งเป็น 3 ชนิด 1. Open Pneumothorax เป็นภาวะที่มีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด จากการ มีรูหรือทางติดต่อภายในทรวงอกกับบรรยากาศภายนอก  

Pneumothorax แบ่งเป็น 3 ชนิด 2. Closed Pneumothorax เป็นภาวะที่มีลมอยู่ในช่องเยื่อหุ้มปอด โดยไม่มีทางติดต่อกับบรรยากาศภายนอก หรือไม่มีรูทะลุเข้าไปในทรวงอก  

Pneumothorax แบ่งเป็น 3 ชนิด 3. Tension Pneumothorax เป็นภาวะที่มีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด  โดยมีรูทะลุสู่ภายนอกทรวงอก โดย ลมจะเข้าไปสู่ช่องเยื่อหุ้มปอดขณะหายใจเข้า แต่ในขณะที่หายใจออกลมไม่สามารถออกสู่ภายนอกได้    

Pneumothorax แบ่งเป็น 3 ชนิด 3. Tension Pneumothorax (ต่อ)   ทำให้มีลมในช่องเยื่อหุ้มปอดมากขึ้นเรื่อยๆ ลมจะเบียดปอดข้างนั้นทำให้ปอดแฟบ และกดปอดด้านตรงข้ามทำให้ปอดไม่สามารถขยายตัวเต็มที่ การแลกเปลี่ยนอากาศทำได้ไม่ดี เป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตได้  

Pneumothorax แบ่งเป็น 3 ชนิด 3. Tension Pneumothorax (ต่อ)   ความรุนแรงจะขึ้นกับปริมาณอากาศที่เข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด

Hemothorax   มีเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด  พบบ่อยในผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุ   

ผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุ อาจมีทั้งลมและเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด Hemothorax   ผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุ    อาจมีทั้งลมและเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด

อาการ/อาการแสดงของ ผู้ป่วยที่ได้รับภยันตรายของทรวงอก

อาการ/อาการแสดง ลักษณะการหายใจผิดปกติ หลอดลมเอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง หายใจขัด หายใจลำบาก หายใจเหนื่อย ซี่โครงบาน ปีกจมูกบาน เสียงหายใจผิดปกติ หลอดลมเอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง ทรวงอกสองข้างขยายไม่เท่ากัน สีผิวซีด เขียว หรือสีชมพู มีรอยบาดแผลที่ทรวงอก รอยถูกกระแทก/สิ่งแปลกปลอม วิตกกังวลและกลัว ปวด

การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับภยันตรายของทรวงอก 1. ลักษณะการหายใจ : สิ่งแรกที่ต้องประเมิน หายใจขัด หายใจลำบาก หายใจเหนื่อย ซี่โครงบาน ปีกจมูกบาน อัตราการหายใจเร็วหรือช้ากว่าปกติ สีผิวซีด เขียว หรือสีชมพู   ฟังเสียงหายใจผิดปกติหรือไม่

การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับภยันตรายของทรวงอก 2. ลักษณะภายนอกของทรวงอก:สังเกตว่ามีบาดแผลต่าง ๆ เช่น   รอยกระสุน รอยมีด สะเก็ดระเบิด รอยถูกกระแทก/สิ่งแปลกปลอมอื่น เช่น เศษกระจก หรือโลหะ

การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับภยันตรายของทรวงอก หากพบว่ามีรูทะลุระหว่างภายนอกและภายในทรวงอก ให้รีบใช้ผ้ากอซ หรือ vaseline gauze ปิดไว้ให้แน่น

การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับภยันตรายของทรวงอก ถ้ามีสิ่งแปลกปลอมบริเวณทรวงอก เช่น มีด ไม้ เศษกระจก และอื่น ๆ ห้ามดึงออกเด็ดขาด เพื่อป้องกันไม่ให้อากาศจากภายนอกเข้าสู่ทรวงอก กดปอด  หัวใจและอวัยวะสำคัญ

การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับภยันตรายของทรวงอก สังเกตว่า ทรวงอกสองข้างขยายเท่ากันหรือไม่ หลอดลมเอียงไปด้านใดด้านหนึ่งหรือไม่ ถ้าพบรายงาน Incharge ทันที

การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับภยันตรายของทรวงอก 3. การหายใจไม่มีประสิทธิภาพ   ควรให้ absolute bed rest ดูแลให้ได้รับออกซิเจนจนกระทั่ง วินิจฉัยได้แน่ชัด หรือ ได้รับการรักษาจนแน่ใจว่า ไม่มีอาการ/อาการแสดงของการขาดออกซิเจน

การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับภยันตรายของทรวงอก ถ้ามีลมหรือเลือดอยู่ในช่องเยื่อหุ้มปอด แพทย์จะต้องรีบเจาะปอด (thoracentesis) ใส่ท่อระบายทรวงอกทันที

การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับภยันตรายของทรวงอก ผู้ป่วยบางรายอาจผ่าตัดเพื่อซ่อมแซมส่วนที่ได้รับอันตราย ผู้ป่วยเหล่านี้ควรจะได้รับการดูแลและสังเกตการหายใจอย่างใกล้ชิดจนกระทั่งการหายใจเป็นปกติ

การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับภยันตรายของทรวงอก 4. ความวิตกกังวลและความกลัว ผู้ที่รู้สึกตัวดีมักมีอาการกลัว/วิตกกังวล ควรอยู่เป็นเพื่อน/ให้กำลังใจ ด้วยท่าทีที่สงบจนการหายใจลำบากทุเลาลง ควรอธิบายให้ผู้ป่วยทราบก่อนให้การรักษาพยาบาลทุกครั้งเพื่อลดความเครียด

การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับภยันตรายของทรวงอก 5. ดูแลเพื่อบรรเทาความเจ็บปวด แพทย์มักให้ยาพวก narcotic:ซึ่งกดการหายใจ   ก่อนให้ยาควรตรวจนับอัตราการหายใจ  และ ตรวจซ้ำหลังการให้ยาไปแล้ว 15-30 นาที รายงาน Incharge หากอาการปวดไม่ทุเลาภายหลังให้ยา

การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับภยันตรายของทรวงอก 5. ดูแลเพื่อบรรเทาความเจ็บปวด ถ้าจำเป็นต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ควรประคองร่างกายส่วนบนให้เรียบร้อย เคลื่อนย้ายด้วยความระมัดระวัง ไม่รีบเร่งจนเกิดเหตุ