ขอบเขตความรับผิดชอบของพยาบาลในการบริหารยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Medication reconciliation
Advertisements

ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
NAVY PILLOW 2012 (หมอนน้ำ ).
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
Thailand Research Expo
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
ผลการประเมิน สถานบริการแพทย์แผนไทย
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
คำแนะนำมารดาหลังคลอด
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
การปฏิบัติตนก่อนและหลังการผ่าตัดกระดูกสันหลัง
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ภก. ปรมินทร์ วีระอนันตวัฒน์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
เครื่องมือพัฒนาคุณภาพ
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
VDO conference dengue 1 July 2013.
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
ศูนย์เฝ้าระวังการเจ็บป่วยจากความร้อน รพ.พระมงกุฎเกล้า
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
ชื่อผลงาน ถุงมหัศจรรย์.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
โรคเบาหวาน ภ.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
เทคนิคการจัดการ ความคลาดเคลื่อนทางยาในเครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การให้คำปรึกษาด้านยาแก่ผู้ป่วยนอก
Tonsillits Pharynngitis
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
งานคุณภาพ ของแผนกทารกแรกเกิด
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขอบเขตความรับผิดชอบของพยาบาลในการบริหารยา บำเพ็ญ พงศ์เพชรดิถ

วัตถุประสงค์ 1.สามารถนำความรู้เรื่องยาไปใช้ในการให้ยาผู้ป่วยได้ถูกต้อง 2.สามารถวิเคราะห์บทบาทขอบเขตความรับผิดชอบของการให้ยาได้ 3.สามารถให้คำแนะนำในการใช้ยาแก่ผู้รับบริการได้เหมาะสมกับสถานการณ์ได้ 4.สามารถสืบค้นข้อมูลเรื่องยาจากแหล่งข้อมูลได้

การให้ยา 6 ประการทุกครั้งคือ Right drug                  ให้ยาถูกชนิดของยา Right dose                   ให้ยาถูกขนาด Right time                    ให้ยาถูกเวลา Right patient               ให้ยาถูกผู้ป่วย Right route                  ให้ยาถูกทาง Right technique          ให้ยาถูกเทคนิค

การบริหารยา ซักประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วย ก่อนที่จะให้ยาและลงบันทึกไว้อย่างชัดเจน ประเมินภาวะของผู้ป่วยก่อนที่จะให้ยา เช่น การวัดความดันโลหิตผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง ก่อนที่จะให้ยาที่จะมีผลทำให้ความดันโลหิตเปลี่ยนไป หรือการฟังเสียงการทำงานของปอดก่อนที่จะให้ยาขยายหลอดลม เป็นต้น เพื่อที่จะได้สังเกตอาการหลังจากที่ผู้ป่วยได้รับยาได้ถูกต้อง สังเกตอาการก่อนและหลังการให้ยา

การให้ยาผู้ป่วยทุกครั้งมีหลักการปฏิบัติ ขณะจัดยาต้อง บันทึกการให้ยา (medication record) หากมีข้อสงสัยให้สอบถามแพทย์ที่เป็นผู้สั่งแผนการรักษานั้น ขณะจัดยาต้องอ่านชื่อยา 3 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อจะหยิบขวดยา ครั้งที่สองขณะรินยาหรือหยิบยา และครั้งที่สามเมื่อวางขวดยา บริเวณที่จัดยาต้องสะอาด พยาบาลต้องมีสมาธิขณะที่เตรียมยาและให้ยาแก่ผู้ป่วย ถามชื่อผู้ป่วยก่อนที่จะให้ยาทุกครั้ง

การให้ยาผู้ป่วยทุกครั้งมีหลักการปฏิบัติ ให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้าพยาบาลไม่วางทิ้งไว้ข้างเตียง ลงบันทึกหลังจากที่ให้ยาแก่ผู้ป่วยเรียบร้อยแล้ว ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับยาง่ายขึ้น เช่น กรณียาที่มีรสขม หรือรสเฝื่อนอาจจัดของเปรี้ยว หรือน้ำ ประเมินประสิทธิภาพของยาที่ให้ เช่น ยาแก้ปวดสามารถลดอาการปวดได้เพียงใด สังเกตอาการก่อนและหลังการให้ยา จัดเก็บยาให้ถูกต้องตามคำแนะนำ

  ยาที่ใช้กิน

   ยาที่ใช้ฉีด  (ยาฉีดเข้าใต้ผิวหนัง  เข้ากล้ามเนื้อเข้าหลอดเลือดดำ  เข้าข้อต่างๆ) ยาที่ใช้ภายนอก (ยาทา ยาดม ยาหยอด ยาล้างแผลหรือโพรงต่างๆของร่างกาย) ยาที่มีลักษณะเป็นของแข็ง ได้แก่             ยาผง ยาแคปซูล  ยาเม็ดอัด ยาเม็ดเคลือบ                ยาเม็ดกลม 

ตัวย่อ คำเต็มภาษาละติน ความหมาย a.c. Ante cibum ก่อนอาหาร p.c. Post cibum หลังอาหาร b.i.d. Bis in die วันละ 2 ครั้ง q.i.d. Quaque in die วันละ 4 ครั้ง t.i.d. Ter in die วันละ 3 ครั้ง o.d. Ommi die วันละครั้ง h.s. Hora somni ก่อนนอน

เป็นครั้งคราวเมื่อจำเป็น ตัวย่อ คำเต็มภาษาละติน ความหมาย p.r.n. Pro re nata เป็นครั้งคราวเมื่อจำเป็น q. Quaque ทุกๆ q. 2 h. Quaque 2 hora ทุก 2 ชั่วโมง q. 4 h. Quaque 4 hora ทุก 4 ชั่วโมง s.o.s. Si opus sit เมื่อจำเป็น Stat Statim ทันทีทันใด t.i.n. Ter in nocte คืนละ 3 ครั้ง

การให้ยาทางปาก

การให้ยาทางปาก

การหยอดตา และการป้ายตา

    การให้ยาทางหู

การให้ยาทางจมูก

การให้ยาทางช่องคลอด รูปครีม เม็ด เจล โฟม ยาเหน็บ หรือสวน การให้ยาทางทวารหนัก การให้ยาโดยการสวนเก็บ

การบริหารยา เมื่อ 5R เผชิญกับ 5R ระหว่างหลักการประกันความถูกต้องกับสิทธิที่ต้องประกัน 5R ที่สอง “Five Rights” นี้เป็นสิทธิ ของผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ ที่มุ่งผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง

สิทธิตาม 5 R สิทธิที่จะได้รับการประเมิน สิทธิที่จะได้รับการบันทึกเอกสารที่ ถูกต้อง เหมาะสม สิทธิที่จะได้รับข้อมูลและความรู้ สิทธิที่จะได้รับการประเมินผล สิทธิในการปฏิเสธที่จะไม่รับการรักษาพยาบาลที่ไม่ เหมาะสม

หลักการที่ 1 การประกันความถูกต้องด้านผู้ป่วย (Right patient/client) หลักการที่ 2 การประกัน ความถูกต้องด้านยา (Right drug) หลักการที่ 3 การประกันความถูกต้องด้านขนาดยา (Right dose) หลักการที่ 4 การประกันความถูกต้องด้านเวลา (Right time) หลักการที่ 5 การประกันความถูกต้องด้านวิถีทางของการบริหารยา (Right route) หลักการที่ 6 การประกันความถูกต้องด้านเทคนิค (Right technique)