บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การแต่งกลอน.
Advertisements

การพูด.
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
บทเรียนโปรแกรม Power Point
องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
วรรณวิจิตร ไพเราะในร้อยกรอง
การดู.
สื่อการสอน ที่พัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ภาษาไทย
โรงเรียนศรีวัฒนาบริหารธุรกิจ และเทคโนโลยีนานาชาติ
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
บทร้อยกรอง.
ทักษะภาษาไทยที่นักเรียนควรทราบ
ภาษาทางสื่อวิทยุกระจายเสียง
เพลงกล่อมเด็กภาคใต้.
กระบวนวิชา TL 214 การพัฒนาทักษะภาษาไทยรายกรณี
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
บทนำ บทที่ 1.
พุทธวิธีในการสอน.
หลักการเขียนโน้มน้าวใจ ลักษณะของสารโน้มน้าวใจ
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
อาจารย์ทวีป อภิสิทธิ์ อาจารย์สุภรณ์ ปรีชาอนันต์
ภาษาวิทยุกระจายเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
เรื่อง การเขียนรายงาน
เรื่อง การเขียนรายงาน
การเรียบเรียงคำ.
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
ความหมายของการวิจารณ์
เรื่อง การเขียนคำจากคำอ่าน
จัดทำโดย 1. นาย ยุทธพิชัย ตินรัตน์ ม.5/6 เลขที่ 4 2. นาย สิรภพ พิกุลทอง ม.5/6 เลขที่ นาย พีระทัด นาคดิลก ม.5/6 เลขที่ นาย ภานุวัฒน์ เพ็งผอม.
แก่นเรื่อง.
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
ผังงาน (FLOW CHART) ผังงาน (Flow Chart)เป็นรูปแบบของการจำลองความคิดแบบหนึ่ง รูปแบบของการจำลองความคิดเพื่อความสะดวกในการทำงาน แบ่ง เป็น ๒ แบบ คือ ๑) แบบข้อความ.
การเขียน.
ท วรรณกรรมปัจจุบัน.
ประเภทของวรรณกรรม.
การฟังเพลง.
การรู้สัจธรรมของชีวิต
การอ่านเชิงวิเคราะห์
องค์ประกอบของวรรณคดี
 มาจากภาษาอังกฤษว่า Literature เช่นเดียวกับวรรณกรรม สำหรับใน ภาษาไทยนั้นมีการใช้คำว่า " วรรณคดี " ก่อนภายหลังจึงได้เกิดมีคำว่า " วรรณกรรม " ขึ้น  คำว่า.
การสร้างสรรค์บทละคร.
ความหมายของการวิจารณ์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
รสในวรรณคดี พิโรธวาทัง.
หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ประเภทของการวิจารณ์.
แผนการจัดการเรียนรู้
ทักษะการอ่าน.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
การเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
ระบบการจัดระดับความเหมาะสมของเกมคอมพิวเตอร์
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี

บทสนทนา กวีมักจะให้ตัวละครแสดงออกมาให้เห็นด้านอารมณ์ ด้านศีลธรรมจรรยา โดยใช้ตัวละครแสดงบทบาทต่างๆ เช่น ด้วยคำพูด หรือ ที่เรียกว่า “บทสนทนา”

กลวิธีการดำเนินเรื่อง วรรณคดีร้อยกรอง เรื่องหนึ่งๆ กวีจะใช้กลวิธีต่างๆ เพื่อทำให้วรรณคดีหรือวรรณกรรมนั้นๆ มีคุณค่า น่าสนใจ กลวิธีต่างๆ นั้น ได้แก่ ๑ ความไพเราะของบทร้อยกรอง คือ ความไพเราะ อันเกิดจากรสคำ และ รสความ

๒  ความไพเราะ อันเกิดจากรสคำ การที่กวีเลือกสรรคำที่มีเสียงเสนาะ ใช้คำเลียนเสียงธรรมชาติ คำที่เล่นเสียงวรรณยุกต์ คำที่เล่นเสียงสัมผัสคล้องจองกัน การเล่นคำ เสียงหนักเบา การลากคำ การใช้คำพ้องเสียงและคำซ้ำ การใช้ลีลาจังหวะของคำทำให้เกิดความไพเราะ

๓  ความไพเราะ อันเกิดจากรสความ การที่กวีเลือกใช้คำที่มีความหมายกระชับ ชัดเจน ใช้คำถูกต้องตามความหมายที่ต้องการ เลือกใช้คำที่เหมาะสมแก่เนื้อเรื่อง  ฐานะของบุคคล และอารมณ์ ในเนื้อเรื่อง

๔ กลวิธีการนำเสนอ กวีจะใช้วิธีนำเสนอเพื่อให้วรรณคดีและวรรณกรรมนั้นๆ น่าสนใจ   น่าติดตามหรือน่าประทับใจต่างๆ เช่น เสนอสาระสำคัญอย่างตรงไปตรงมา หรือ เสนอแบบให้ตีความหรือเปรียบเทียบ เป็นต้น  

มุมมองของกวี กวีใช้กลวิธีเพื่อสื่อความและสื่ออารมณ์ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเสียง จังหวะคำ สัมผัส เนื้อความ ให้ความไพเราะและสร้างจินตภาพก่อให้เกิดความเพลิดเพลินให้ผู้อ่านได้ อาจมีข้อความหรือถ้อยคำตอนใดที่อ่านแล้วซาบซึ้งประทับใจ

มีพฤติกรรมตัวละครที่ควรยกย่อง และถือเป็นตัวอย่างนำไปใช้ในชีวิตจริงได้ หรือมีตัวอย่างพฤติกรรมตัวละครที่ไม่ควรนำมาเป็นตัวอย่างที่จะนำไปใช้ในชีวิตจริง มีแง่คิดคติธรรม ความเพลิดเพลิน และคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรม