สัปดาห์ที่ ๑๔ เคมีอินทรีย์ Organic Chemistry.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง บัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย (ฉบับที่ 2) พ
Advertisements

บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
สีกับสิ่งทอ Sir william H.perkin ค้นพบสีสังเคราะห์ชนิดแรกเป็นสีเบสิกคือ mauve สารที่มีสีมี 2 ประเภทคือ พิกเมนท์(pigment)และสี(dye) พิกเมนท์เป็นสารมีสีไม่ละลายน้ำและติดอยู่บนผ้าด้วยสารช่วยติด.
Nickle.
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ
ผัก.
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
โครเมี่ยม (Cr).
น้ำมัน. ภาพรวมน้ำมัน น้ำมันดิบ น้ำมันสำเร็จรูป การจัดหา น้ำมันดิบ ในประเทศ นำเข้า 83% 17% ตะวันออกกลาง 56% ตะวันออกไกล 12% อื่นๆ 15% 1,015,005 บาร์เรล/วัน.
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
เรื่อง การทำน้ำสกัดชีวภาพ
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
เคมี รหัส ว33221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง Organic chemistry
อีเทอร์และอีพอกไซด์ Ether and Epoxide
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
แบบฝึกหัดที่ 3 ไฮโดรคาร์บอน
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
ตารางธาตุ.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การหาปริมาณของบอแรกซ์ และกรดบอริคในสารตัวอย่าง
Alkyne และ Cycloalkyne
Chemistry Introduction
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
หมู่ฟังก์ชัน.
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
แบบจำลอง อะตอมของจอห์นดาลตัน
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
Catering SER 3102 วิชาการจัดเลี้ยง.
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตภาคใต้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สัปดาห์ที่ ๑๔ เคมีอินทรีย์ Organic Chemistry

หัวข้อการศึกษา 1.การจำแนกสารอินทรีย์ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน สมบัติและการเกิดปฏิกิริยา การอ่านชื่อสารอินทรีย์แบบ Common name และแบบ IUPAC 2. สารประกอบอินทรีย์ที่มีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ สมบัติทั่วไปและการสังเคราะห์ alcohol, ether, aldehyde, ketone, carboxylic acid, ester & amine 3. สารอินทรีย์ที่ใช้ในทางทหาร ประเภท ชนิด สูตรเคมี คุณสมบัติ ผลอันตราย

เคมีอินทรีย์(Organic Chemistry) หมายถึงวิชาเคมีสาขาที่เกี่ยวข้องกับสารประกอบคาร์บอน มีมากกว่า 14 ล้านชนิด สารประกอบอินทรีย์ เพราะคาร์บอนเกิดสารประกอบได้มากกว่าธาตุใดๆ คาร์บอนเกิดพันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม และต่อกันเเองเป็นโซ่ยาวและโซ่มีสาขา มีประมาณ 100,000ชนิด สารประกอบอนินทรีย์

ธาตุที่พบในสารประกอบอินทรีย์

การจำแนกสารประกอบอินทรีย์ ใช้หมู่ฟังก์ชั่น (functional group) ในการจำแนกสารประกอบอินทรีย์ functional group : กลุ่มอะตอมที่แสดงสมบัติทางเคมีของโมเลกุล โมเลกุลต่างชนิดกัน ถ้า มี functional group เดียวกัน จะเกิดปฏิกิริยาเคมีคล้ายๆกัน เช่น แอลกอฮอล์ (R –OH) อีเทอร์ (R-O-R’) อัลดีไฮด์และคีโตน ( >C=O) กรดคาร์บอกซิลิกและเอมีน (-COOH)

สารประกอบไฮโดรคาร์บอน(Hydrocarbon) สารอินทรีย์ส่วนใหญ่เป็นอนุพันธ์ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน Hydrocarbon : ประกอบด้วยธาตุ Hydrogen และ Carbon Hydrocarbon : แบ่งตามโครงสร้างเป็น Aliphatic Hydrocarbon - ไม่มีวงแหวนเบนซีน Aromatic Hydrocarbon – มีวงแหวนเบนซีน อย่างน้อย 1 วง

การจำแนกสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

Aliphatic HC: แอลเคน (Alkane) สูตรโมเลกุลทั่วไป CnH2n+2 เมื่อ n = 1,2,3,… มีเฉพาะพันธะ(โควาเลนต์) เดี่ยวเท่านั้น (single covalent bonds) เพราะประกอบด้วยไฮโดรเจนอะตอมที่มีจำนวนมากที่สุดที่สามารถเกิดพันธะกับอะตอมของคาร์บอนได้ เป็นพันธะอิ่มตัวไม่อาจเติมไฮโดรเจนได้อีก จึงเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว (saturated hydrocarbons) ตัวอย่างเช่น n = 1 มีเทน (Methane) CH4 n = 2 อีเทน (Ethane) C2H6 n = 3 โพรเพน (Propane) C3H8

มีเทน (Methane) : CH4 n=1 เกิดจาการสลายตัวของพืชผักในน้ำแบบไม่ใช้อากาศ www.tqnyc.org www.worldofmolecules.com n=1 เกิดจาการสลายตัวของพืชผักในน้ำแบบไม่ใช้อากาศ เรียก “Marsh gas” เนื่องจากเก็บได้จากหนองน้ำ จุลชีพในระบบย่อยของปลวกก็ย่อยไม้(เซลลูโลส) เป็นมีเทนได้ มีเทนเกิดจากระบบบำบัดน้ำเสีย มีเทนได้จากแก๊สธรรมชาติ CNG = Compressed Natural Gas NGV = Natural Gas Vehicle

เป็นแก๊สที่ T ห้อง จำนวนอะตอม C เพิ่ม จุดหลอมเหลว และ จุดเดือดเพิ่ม เป็นของเหลวที่ T ห้อง สรุป เมื่อโมเลกุลขนาดใหญ่ขึ้น จุดเดือดเพิ่มขึ้น เพราะแรงแผ่กระจายมีค่ามากขึ้น

ไอโซเมอร์โครงสร้าง (Structural isomers) แบบโซ่กิ่ง แบบโซ่ตรง ไอโซเมอร์โครงสร้าง (Structural isomers) คือ โมเลกุลมีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแต่มีโครงสร้างต่างกัน

จำนวนไอโซเมอร์จะเพิ่มขึ้นตามจำนวนอะตอมคาร์บอนที่เพิ่มขึ้น สำหรับ Alkane นั้น … จำนวนไอโซเมอร์จะเพิ่มขึ้นตามจำนวนอะตอมคาร์บอนที่เพิ่มขึ้น ตัวอย่าง เช่น C4H10 มี 2 isomer C10H22 มี 75 isomer C30H62 มี 4x108 isomer

การอ่านชื่อ (Nomenclature) 1. ชื่อสามัญ (Common name) อ่านตามแบบที่นิยมอ่านกันมา ไม่มีกฎเกณฑ์แน่นอน เช่น 2. ชื่อไอยูแพค (IUPAC name) อ่านตามระบบ IUPAC มีหลักเกณฑ์การอ่านชื่นสารเคมีกลุ่มที่มีชื่อลงท้ายเหมือนกันเพื่อบอกหมู่ฟังก์ชั่น IUPAC = International Union of Pure and Applied Chemistry encarta.msn.com

การอ่านชื่อแอลเคน (Alkane Nomenclature) : ระบบ IUPAC

อะตอมหรือหมู่อะตอมที่แทนที่ใน alkane อาจเป็นชนิดอื่นก็ได้ ดังตาราง ลองฝึกอ่านชื่อจากสูตรต่อไปนี้ 2-bromo-3-nitrobutane 1-bromo-3-nitrobutane

ปฏิกิริยาของแอลเคน(Chemical reaction of alkane) เกิดปฏิกิริยาได้ ดังนี้ การเผาไหม้ (Oxidation or Combustion) ปฏิกิริยาฮาโลจิเนชั่น (Halogination)

ปฏิกิริยาการเผาไหม้ (Oxidation or Combustion) ของแอลเคน เป็นปฏิกิริยาที่คายความร้อนสูง การเผาไหม้แก๊สธรรมชาติ น้ำมันเชื้อเพลิงรถยนต์ น้ำมันเชื้อเพลิงอื่นๆ ใช้ประโยชน์ในการทำความร้อน ทางอุตสาหกรรม การหุงต้มอาหาร ปฏิกิริยาการเผาไหม้แอลเคน : แอลเคน + แก๊สออกซิเจน  คาร์บอนไดออกไซด์ + น้ำ + พลังงาน

inglis.house.gov picturethis.pnl.gov เชื้อเพลิงจากแอลเคน

ปฏิกิริยาฮาโลจิเนชั่น (Halogination) ของแอลเคน หมายถึงการแทนที่ไอโดรเจนอย่างน้อย 1 อะตอมด้วยเฮโลเจนอะตอม ตัวอย่างเช่น เมื่อผสมมีเทนกับคลอรีนแล้วทำให้ร้อนขึ้นที่อุณหภูมิกว่า 100oC หรือฉายแสงที่มีความยาวคลื่นพอเหมาะ จะเกิดเมทิลคลอไรด์ขึ้น ดังสมการ แอลเคนที่ถูกแทนที่ ด้วยฮาโลเจนอะตอม เรียกว่า แอลคิลเฮไลด์ (alkyl halide)

แอลคิลเฮไลด์ (alkyl halide) ที่รู้จักกันดี chloroform : CHCl3: ของเหลวระเหยง่าย รสหวาน มีพิษทำลายตับ ไต และหัวใจรุนแรง เคยใช้ทำยาสลบ carbontetrachloride : CCl4 : มีพิษ ใช้เป็นตัวทำละลาย , ใช้ขจัดคราบไขมันจากเสื้อผ้า methylene chloride : CH2Cl2 : ตัวทำละลายในการกำจัดคาเฟอีนออกจากกาแฟ chlorofluorohydrocarbon ชนิดต่างๆ

ไซโคลอัลเคน(cycloalkane) สูตรโมเลกุลทั่วไป CnH2n เมื่อ n = 3,4,… เป็นแอลเคนที่มีคาร์บอนอะตอมเชื่อต่อกันเป็นวง

1. รูปเก้าอี้ (chair form) 2. รูปเรือ (boat form) ไซโคลเฮกเซน มีรูปร่างได้หลายแบบแต่ที่พบบ่อยมี 2 แบบ คือ 1. รูปเก้าอี้ (chair form) 2. รูปเรือ (boat form)

แอลคีน(alkene) หรือ โอเลฟิน (olefin) สูตรโมเลกุลทั่วไป CnH2n เมื่อ n = 2,3,… เป็น HC ที่มีพันธะคู่ระหว่าง C=C อย่างน้อย 1 พันธะ มีชื่อลงท้ายว่า -ene (อีน) เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว (unsaturated hydrocarbons) C=C ใน Ethelene (C2H4) สร้างพันธะด้วย sp2 hybrid orbital ตัวอย่างเช่น n = 2 เอทิลีน (Ethylene) C2H4 H2C=CH2 n = 3 โพรพิลีน (Propylene) C3H6H2C=CH-CH3

การอ่านชื่อแอลคีน(Alkene Nomenclature):ระบบ IUPAC 1.ชื่อหลักของแอลเคน เรียกตามจำนวนคาร์บอนที่ต่อกันยาวที่สุด ที่มีพันธะคู่ กำหนดเลขน้อยทางด้านที่มีพันธะคู่เป็นหลัก จำนวน C ชื่อ 1 meth- 2 eth- 3 prop- 4 but- 5 pent- 6 hex- 7 hept- 8 oct- 9 non- 10 dec- CH3-CH2-CH-CH2-CH=CH2 6 5 4 3 2 1 2. ใช้คำว่า –ene สำหรับพันธะคู่ 1 พันธะ –diene สำหรับพันธะคู่ 2 พันธะ 3. เขียนชื่อดังนี้: เลขตำแหน่งพันธะคู่ของ C = C + จน.C+ ane = 1-haxene

3-methyl-1-pentene 2-butene

สมบัติ&ปฏิกิริยาของแอลคีน (Chemical reaction of alkene) Alkene จัดเป็น HC ไม่อิ่มตัว จึงเกิดปฏิกิริยาการเติม HC ไม่อิ่มตัว หมายถึง สารประกอบที่มีพันธะคู่ หรือพันธะสาม ระหว่างอะตอมคาร์บอน ปฏิกิริยาการเติม หมายถึง การเติมโมเลกุลหนึ่งเข้าไปในอีกโมเลกุลหนึ่งเกิดเป็นผลิตภัณฑ์ชนิดเดียว เช่น ไฮโดรจิเนชั่น(Hydrogenation)การเติม Hในพันธะคู่ Alkene จัดเป็น HC ไม่อิ่มตัว

ไฮโดรจิเนชั่น (Hydrogenation) การเติม H เข้าไปที่พันธะคู่ เกิดสารประกอบอิ่มตัว H2C=CH2 + H2  H3C-CH3

ตัวอย่างปฏิกิริยาการเติมเข้าไปในพันธะ C=C อื่นๆ C2H4 (g) + HX(g)  CH3-CH2X (g) C2H4 (g) + X2(g)  CH2X-CH2X (g) เมื่อ X แทนแฮโลเจน (Cl , Br หรือ I)

แอลไคน์ (Alkyne) สูตรโมเลกุลทั่วไป CnH2n-2 เมื่อ n = 2,3,… เป็น HC ที่มีพันธะสามระหว่าง CC อย่างน้อย 1 พันธะ มีชื่อลงท้ายว่า -yne (-อายน์) เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว (unsaturated hydrocarbons) C  C ใน acethylene (C2H2) สร้างพันธะด้วย sp hybridization ตัวอย่างเช่น n = 2 acethylene (ethyne) C2H2 HC  CH n = 3 propyne C3H4 H3C - C CH

การอ่านชื่อแอลไคน์ (Alkyne Nomenclature) :ระบบ IUPAC 1.เลือก Chain ของ C ที่ต่อกันยาวที่สุดที่มีพันธะสาม กำหนดเลขน้อยทางด้านที่มีพันธะสามเป็นหลัก จำนวน C ชื่อ 1 meth- 2 eth- 3 prop- 4 but- 5 pent- 6 hex- 7 hept- 8 oct- 9 non- 10 dec- CHCH-CH2-CH3 1 2 3 4 1-butyne 2. ระบุตำแหน่งของพันธะสาม 3.อ่านเช่นเดียวกับ alkene แต่ลงท้ายด้วย -yne

CH3- C  C - CH3 1 2 3 4 2 - butyne CHC- CH2–CH2-CH3 1 2 3 4 5 1 - pentyne CH3- C  C – CH2-CH3 1 2 3 4 5 2 - pentyne

สมบัติ&ปฏิกิริยาของแอลไคน์ (Chemical reaction of alkyne) แคลเซียมคาร์ไบด์+น้ำ ดังสมการ CaC2(s) + H2O(l) C2H2(g)+Ca(OH)2(aq) alkyne มีปฏิกิริยาคล้ายคลึงกับalkene เพราะเป็น HC ไม่อิ่มตัวเหมือนกัน

สมบัติ&ปฏิกิริยาของแอลไคน์ (Chemical reaction of alkyne) 2C2H2(g) + 5O2(g)4CO2(g) + H2O(l) ΔH0 = -2599.2 kJ/mol อะเซติลีน,มีประโยชน์ในอุตสาหกรรม

สมบัติ&ปฏิกิริยาของแอลไคน์ (Chemical reaction of alkyne) การขนส่งแก๊สอะเซติลีนที่มีความดัน ต้องระมัดระวัง เพราะอาจระเบิดได้ จะต้องเก็บไว้ในตัวทำละลายอินทรีย์ เช่น อะซีโตน ภายใต้ความดันปานกลาง อะเซติลีนในสถานะของเหลวก็มีความไวต่อแรงกระแทกมากและมีความเป็นระเบิดสูง C2H2(g) 2C(s)+H2(g) อะเซติลีนไม่เสถียรเหมือนแอลเคนสลายตัวได้ ดังสมการ

สมบัติ&ปฏิกิริยาของแอลไคน์ (Chemical reaction of alkyne) เกิดปฏิกิริยาการเติมด้วยไฮโดรเจนเฮไลด์ และแฮโลเจน ดังสมการ C2H2(g) + HX (g)  CH2=CHX (g) C2H2(g) + X2(g)  CHX=CHX (g) C2H2(g) + 2X2(g)  CHX2-CHX2 (g) อะเซติลีนเป็น HC ไม่อิ่มตัวสามารถเติม H เป็นเอทิลีน ได้ ดังสมการ C2H2(g) +H2 C2H4(g)

แอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน(Aromatic Hydrocarbons) สูตรโครงสร้าง มี benzene (C6H6)เป็นองค์ประกอบหลัก เป็นสารอินทรีย์กลุ่มใหญ่มาก H ใน benzene ring ถูกแทนที่ด้วยหมู่อื่นๆได้ อาจมี benzene ring มากกว่าหนึ่ง เชื่อมกันเป็น polynuclear Aromatic Hydrocarbons

การเรียกชื่อสารประกอบแอโรแมติก

ไนโตรเบนซีน มีโครงสร้างที่เป็นไปได้ 3 แบบ คือ o=ortho ติดกัน m=meta เว้น 1 p=para ตรงข้าม 1,2 ไดโบรโมเบนซีน (0-ไดโบรโมเบนซีน) 1,3 ไดโบรโมเบนซีน (m-ไดโบรโมเบนซีน) 1,4 ไดโบรโมเบนซีน (p-ไดโบรโมเบนซีน)

1 2 3 4 5 6 3-bromonitrobenzene m-bromonitrobenzene

2-phenylpropane เบนซีนที่มี H หายไป 1 อะตอม คือ C6H5 เรียกว่า ฟีนิล 1 2 3 2-phenylpropane

สมบัติและปฏิกิริยาของสารประกอบแอโรแมติก เบนซีนเป็นของเหลวไม่มีสี ติดไฟ ได้จากปิโตรเลียมและน้ำมันดิน แม้ว่าจะเป็น HC ไม่อิ่มตัว แต่เบนซีนค่อนข้างเฉื่อยต่อปฏิกิริยาเคมี เมื่อเทียบกับเอทิลีนและอะเซทิลีน เนื่องจากมีความเสถียรจากการที่อิเล็กตรอนดีคัลไลซ์ได้ในโมเลกุล การเติม H ทำได้ยาก ต้องใช้ภาวะ ความดัน และอุณหภูมิสูงจึงจะเกิด

สมบัติและปฏิกิริยาของสารประกอบแอโรแมติก เบนซีน แม้จะมีพันธะคู่ เหมือนแอลคีน แต่ไม่เกิดปฏิกิริยาการเติมกับแฮโลเจน กลับเกิดปฏิกิริยาการแทนที่กับแฮโลเจน

สมบัติและปฏิกิริยาของสารประกอบแอโรแมติก แต่หากเกิดปฏิกิริยาการเติมกับแฮโลเจน การดีโลคัลไลซ์ของอิเล็กตรอนในผลิตภัณฑ์จะถูกทำลายไป และโมเลกุลจะไม่มีลักษณะของความเป็นแอโรแมติก

สมบัติและปฏิกิริยาของสารประกอบแอโรแมติก เราสามารถเติมหมู่แอลคิลเข้าไปในเบนซีนโดยการทำปฏิกิริยากับแอลคิลเฮไลด์ โดยใช้ AlCl3 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา

สารก่อมะเร็ง polycyclic Aromatic Hydrocarbons : เมื่อวงแหวนเบนซีนมารวมกันจะได้สารประกอบจำนวนมหาศาล สารก่อมะเร็ง

เคมีของหมู่ฟังก์ชั่น functional group: เป็นส่วนที่ว่องไวในการทำปฏิกิริยาของโมเลกุล สารประกอบอินทรีย์ที่มีออกซิเจนและไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ โมเลกุลต่างกัน แต่มี functional group เหมือนกันจะมีสมบัติทาง เคมีคล้ายคลึงกัน ที่จะศึกษา ได้แก่ แอลกอฮอล์ (Alcohols) อีเทอร์ (ether) แอลดีไฮด์และคีโตน (aldehyde & ketone) กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid) เอสเทอร์ (ester) เอมีน (amine)

แอลกอฮอล์ (Alcohols : R-OH) มีหมู่ไฮดรอกซิล ( - OH) สูตรทั่วไป R-OH

การเตรียมเอทิลแอลกอฮอล์หรือเอทานอล (C2H5-OH) www.evworld.com เตรียมได้จากการหมักน้ำตาลหรือแป้งด้วยกระบวนการทางชีววิทยาในภาวะปราศจากออกซิเจน ใช้เอนไซม์ในยีสต์หรือแบคทีเรียเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ในเชิงพาณิชย์เตรียมได้จากปฏิกิริยาการเติมน้ำให้แก่เอทิลีนที่อุณหภูมิประมาณ 280 oC และความดัน 300 atm

ประโยชน์ของเอทานอล (C2H5-OH) เป็นตัวทำละลายสารเคมีต่างๆ เป็นสารตั้งต้นในการผลิตสีย้อม ยา เครื่องสำอาง วัตถุระเบิดฯลฯ เป็นส่วนผสมของเครื่องดื่มต่างๆ เป็นส่วนผสมของเชื้อเพลิงในปัจจุบัน ได้แก่ gasohol 91 : ethanol 99.5% 1 ส่วน + เบนซิน 87 9 ส่วน gasohol 95 : ethanol 99.5% 1 ส่วน + เบนซิน 91 9 ส่วน E20 : ethanol 99.5% 2 ส่วน + เบนซิน 91 8 ส่วน เป็นแอลกอฮอล์โซ่ตรงชนิดเดียวที่เป็นพิษน้อยที่สุด ksjtracker.mit.edu

ร่างกายจะย่อยเอทานอลเป็นอะเซตัลดีไฮด์ ดังสมการ H2 ถูกโมเลกุลอื่นจับไป hilight.kapook.com เอทานอลอาจถูกออกซิไดส์ด้วยตัวออกซิไดส์ อนินทรีย์ เป็นอะเซตัลดีไฮด์กับกรดอะซีติก ดังสมการ

เมทานอล (methanol : CH3OH) wood alcohol เตรียมได้จากการนำไม้มากลั่นแห้ง เป็นพิษสูง ดื่มเพียงไม่กี่ ml. ทำให้คลื่นไส้ และตาบอดได้ ปนเปื้อนอยู่ในเอทานอลที่ใช้ทางอุตสาหกรรม www.qafac.com.qa ในอุตสาหกรรมเตรียมได้จากปฏิกิริยาระหว่าง คาร์บอนมอนอกไซด์กับไฮโดรเจนที่อุณหภูมิและความดันสูง ดังนี้

ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับปฏิกิริยาของแอลกอฮอล์ แอลกอฮอล์ส่วนใหญ่ติดไฟง่ายโดยเฉพาะแอลกอฮอล์ที่มีมวลโมเลกุลต่ำ แอลกอฮอล์เป็นกรดอ่อนมาก ไม่ทำปฏิกิริยากับเบสแก่ เช่น NaOH โลหะแอลคาไล ทำปฏิกิริยากับแอลกอฮอล์ ได้ แก๊สไฮโดรเจน ปฏิกิริยานี้รุนแรงน้อยกว่าระหว่าง Na กับ H2O มาก ดังสมการ www.chemicalconnection.org.uk

การเก็บโลหะโซเดียมซึ่งเป็นโลหะที่มีความว่องไวสูงในการเกิดปฏิกิริยา โดยทั่วไปจะเก็บในพาราฟิน หรือ ตัวทำละลายบางชนิด เช่น น้ำมันก๊าด ไซลีน และ แนฟธา เป็นต้น ซึ่งสารเหล่านี้จะช่วยป้องกันโลหะโซเดียมไม่ให้สัมผัสกับความชื้นในอากาศที่จะทำให้เกิดการทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับน้ำ เกิดเป็นโซเดียมไฮดรอกไซด์ซึ่งมีฤทธิ์กัดกร่อน สำหรับโลหะโซเดียมนั้น เป็นโลหะที่มีการนำมาใช้อย่างกว้างขวางในวงการอุตสาหกรรม

แอลกอฮอล์อื่นๆที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ...แอลกอฮอล์เช็ดแผล คือ ไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์.. www.chemistryland.com www.chemistryland.com

แอลกอฮอล์อื่นๆที่ใช้ในชีวิตประจำวัน www.centrecountyrecycles.com ...เอทิลีนไกลคอล...ใช้เป็นสารป้องกันการแข็งตัวของน้ำ ในหม้อน้ำรถยนต์.. www.uwm.edu www.nrao.edu มี -OH 2หมู่ สร้างพันธะกับน้ำได้ดีกว่า –OH หมู่เดียว ที่มา: เคมี 2 Raymond Chang เล่ม 2 หน้า 350-352

อีเทอร์ (ether : R-O-R/) แอโรแมติก) เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างอัลคคอกไซด์ (มีไอออน RO-) และแอคิลเฮไลด์ ดังสมการ

อีเทอร์ (ether : R-O-R/) ไดเอทิลอีเทอร์เตรียมในระดับอุตสาหกรรมโดยการให้ความร้อนเอทานอลกับกรดซัลฟุริกที่ 140oC เป็นปฏิกิริยาควบแน่น เชื่อม 2 โมเลกุลเข้าด้วยกัน แล้วกำจัดโมเลกุลขนาดเล็ก(ในที่นี้คือ น้ำ) ออกไป

การติดไฟของอีเทอร์ ติดไฟง่ายเช่นเดียวกับแอลกอฮอล์ เมื่อทิ้งให้สัมผัสอากาศจะค่อยๆกลายเป็น เปอร์ออกไซด์ ที่ระเบิดได้ ดังปฏิกิริยา เปอร์ออกไซด์

เกร็ดความรู้ เปอร์ออกไซด์(peroxide) ที่โมเลกุลเล็กที่สุด คือ web1.caryacademy.org เปอร์ออกไซด์(peroxide) ที่โมเลกุลเล็กที่สุด คือ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (hydrogen peroxide : H2O2) สมัยก่อนใช้ ไดเอทิลอีเทอร์ (diethylether) หรือที่ นิยมเรียกว่า “อีเทอร์”(ether) เป็นยาสลบ (กดระบบประสาทส่วนกลาง แต่มีผลระคายเคียงระบบหายใจ คลื่นไส้อาเจียน) www.elmhurst.edu ปัจจุบันนิยมใช้ “นีโอทิล” (neothyl) หรือ “เมทิลโพรพิลอีเทอร์” (CH3-O-CH2-CH2-CH3) แทน เพราะไม่เกิดผลข้างเคียง

แอลดีไฮด์และคีโตน (aldehyde&ketone) carbonyl gr. แอลดีไฮด์และคีโตน (aldehyde&ketone) เป็นสารประกอบคาร์บอนิล (carbonyl compound)ประกอบด้วยหมู่คาร์บอนิล (carbonyl group)

อัลดีไฮด์ และคีโตน (aldehyde&ketone) เรามารถเปลี่ยนแอลกอฮอล์เป็นอัลดีไฮด์ และคีโตน ได้ภายใต้ภาวะออกซิเดชั่นที่ไม่รุนแรง ดังสมการ หมู่คาร์บอนิล

เกร็ดความรู้เรื่อง formaldehyde www.gasdetection.com เกร็ดความรู้เรื่อง formaldehyde เป็นอัลดีไฮด์ที่มีโครงสร้างง่ายที่สุด เป็นของเหลวที่มีกลิ่นเหม็น ใช้เป็นสารตั้งต้นในอุตสาหกรรม polymer ใช้ดองสัตว์ในห้องปฏิบัติการ formaldehyde H2C=O มีแนวโน้มที่จะ polymerize และเกิดการคายความร้อนมาก ทำให้เกิดการระเบิด การเตรียมและเก็บต้องทำในสารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลายเพื่อลดความเข้มข้นลง

เกร็ดความรู้เรื่อง aldehyde&ketone aldehyde ที่มีมวลต่อโมลสูง เช่น ชินนามิกแอลดีไฮด์ (chinamic aldehyde กลับเป็นสารที่มีกลิ่นหอมและใช้ในการทำน้ำหอม ketone ไวต่อปฏิกิริยาน้อยกว่า aldehyde Ketone ที่โมเลกุลเล็กที่สุด คือ แอซิโตน (acetone) ใช้เป็นตัวทำละลายสำหรับสารประกอบอินทรีย์ และยาล้างเล็บ acetone

กรดคาร์บอกซิลิก(carboxylic acid: R-COOH) carboxylic acid คือ กรดที่มีหมู่คาร์บอกซิล (carboxyl group , -COOH) ในโมเลกุล ภายใต้ภาวะที่เหมาะสม alcohol& aldehyde อาจถูกออกซิไดส์ เป็น กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid) ดังสมการ Note : ปฏิกิริยานี้เกิดง่าย Q : ทำไมต้องเก็บไวน์ในที่ไม่มีออกซิเจน? A : alc. ในไวน์จะทำปฏิกิริยากับ O2 กลายเป็นกรดอะซีติก ทำให้มีรสเปรี้ยว

ความรู้เกี่ยวกับcarboxylic acid โปรตีนทุกโมเลกุลประกอบด้วยกรดอะมิโน (amino acid) amino acid คือ กรดคาร์บอกซิลิกชนิดพิเศษที่มีหมู่ฟังก์ชั่น carboxyl group;-COOH และ amio group; -NH2 ในโมเลกุล ดังภาพ

ความรู้เกี่ยวกับcarboxylic acid carboxylic acid เป็นกรดอ่อน ไม่เหมือนกรดอนินทรีย์ เช่น HCl , HNO3 , H2SO4 เป็นต้น carboxylic acid ทำปฏิกิริยากับ alcohol ได้ ester ซึ่งมีกลิ่นหอม ดังสมการ

ความรู้เกี่ยวกับcarboxylic acid CH3COOH + NaOH  CH3COONa + H2O carboxylic acid ทำปฏิกิริยากับ เกิด acid halide เช่น acetyl chloride CH3COOH + PCl5  CH3COCl + HCl + POCl3 acetyl chloride phosphoryl chloride acid halide เป็นสารที่ว่องไวปฏิกิริยาใช้ในการเตรียม สารประกอบอินทรีย์อื่นๆได้หลายชนิด acid halide เกิดปฏิกิริยากับน้ำ(hydrolysis)แบบเดียวกับเฮไลด์ของอโลหะต่างๆ เช่น SiCl4 CH3COCl(l) + H2O(l)  CH3COOH(aq) + HCl(g) SiCl4(l) +H2O(l)  H2SiO3(s) + 4HCl(g) salicic acid

เอสเทอร์ (Ester) สูตรทั่วไป เมื่อ R เป็น H หรือหมู่ไฮโดรคาร์บอน เอสเทอร์ใช้ผลิตน้ำหอม และสารให้รสชาติในอุตสาหกรรมลูกกวาด และเครื่องดื่มไร้แอลกอฮอล์ ผลไม้มีกลิ่นเฉพาะตัวเนื่องจากมีเอสเทอร์ปริมาณน้อย กล้วย มี แอปเปิ้ล มี

หมู่ฟังก์ชั่นในเอสเทอร์ คือ –COOR ในภาวะที่มีกรด HCl เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเอสเทอร์จะเกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซีส ให้กรดคาร์บอกซิลิกและแอลกอฮอล์ ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาย้อนกลับ ดังสมการ ในทางตรงกันข้ามเมื่อใช้สารละลาย NaOH ในการไฮโดรลิซีสจะไม่เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ ดังนั้นจึงนิยมทำปฏิกิริยาไฮโดรลิซีสในเบส

ปฏิกิริยากับ NaOH นี้เรียก สปอนนิฟิเคชั่น(saponification = การทำสบู่) คือ การไฮโดรลิซีสเอสเทอร์ของกรดไขมันในด่าง เพื่อให้ได้โมเลกุลสบู่ (โซเดียมอะซีเตต) ดังสมการ โมเลกุลสบู่

เอมีน : amine R3N เป็นเบสอินทรีย์ที่มีสูตรทั่วไปเป็น R3N R จะเป็นหมู่ ไฮโดรคาร์บอน หรือ H ก็ได้

เอมีนทำปฏิกิริยากับน้ำเช่นเดียวกับแอมโมเนีย(NH3) ดังนี้ เอมีนเกิดเกลือเมื่อทำปฏิกิริยากับกรด เช่นเดียวกับเบสทุกชนิด ดังนี้ เกลือเหล่านี้ มักเป็นของแข็งไม่มีสี ไม่มีกลิ่น

แอโรแมติกเอมีน ใช้มากในการผลิตสีย้อม โครงสร้าง ง่ายที่สุด เป็นพิษ สารก่อมะเร็ง

บทสรุปของ Functional Group สารประกอบอินทรีย์มักมีหมู่ฟังก์ชั่นมากกว่า 1 ชนิด ความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาถูกกำหนดโดยจำนวนและชนิดของหมู่ฟังก์ชั่นในโมเลกุล