ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ http://www.edu.rmutt.ac.th/metee/ictedu อ.เมธี พิกุลทอง ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
วัตถุประสงค์ของการเรียน นักศึกษาสามารถอธิบายได้ว่ามีผลกระทบใดบ้างที่เกี่ยวข้องกับการใช้คอมพิวเตอร์ นักศึกษาสามารถอธิบายการใช้งานคอมพิวเตอร์ที่ถูกสุขลักษณะได้ นักศึกษาสามารถอธิบายวิธีปฏิบัติตนเมื่อเกิดอาการที่เกิดขึ้นจากการใช้คอมพิวเตอร์ได้
กลุ่มของผลกระทบ ผลกระทบทางสุขภาพร่างกาย ผลกระทบทางสุขภาพจิตใจ , อารมณ์ ผลกระทบทางสังคม
ผลกระทบทางสุขภาพร่างกาย ปวดตามข้อ กล้ามเนื้ออ่อนล้า สายตาเสื่อม เกิดโรคในช่องท้อง พักผ่อนน้อยลง ระบบขับถ่ายแปรปรวน ภูมิคุ้มกันโรคถดถอย
โรคที่มักเกิดกับผู้ใช้คอมพิวเตอร์
Computer Vision Syndrome (CVS) โรคที่เกิดกับดวงตา Computer Vision Syndrome (CVS) อาการปวดตาและแสบตาเกิดขึ้นเพราะมีสมาธิกับข้อมูลบนจอคอมพิวเตอร์มากเกินไป จนลืมกระพริบตา ปรับสภาพแสงภายในห้องทำงานไม่ให้มีแสงสะท้อนมาที่ จอคอมพิวเตอร์ ปรับแสงสว่างหน้าจอคอมพิวเตอร์ไม่ให้แสงจ้ามากเกินไป http://www.uniserv.buu.ac.th/
Computer Vision Syndrome (CVS) โรคที่เกิดกับดวงตา Computer Vision Syndrome (CVS) นั่งห่างจากจอคอมพิวเตอร์ประมาณ 70 ซม.จากดวงตา นั่งกึ่งกลางของหน้าจอคอมพิวเตอร์ http://www.uniserv.buu.ac.th/
โรคภูมิแพ้ นักวิจัยในสวีเดนพบว่า สารเคมีที่ชื่อว่า Triphenyi Phosphate จากจอคอมพิวเตอร์แบบ CRT ปล่อยออกมาวนเวียนรอบๆตัวเรา ก่อให้เกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้ ให้เปิดประตู หน้าต่างระบายอากาศ
โรคในช่องท้อง โรคกระเพาะอาหาร โรคลำไส้ โรคเกี่ยวกับระบบขับถ่าย 9
ผลกระทบทางสุขภาพจิตใจ , อารมณ์
ผลกระทบทางสุขภาพจิตใจ , อารมณ์ พฤติกรรมทางอารมณ์เปลี่ยนไป ความอดทนน้อยลง ไม่มั่นใจในตนเองที่จะเผชิญกับปัญหา
ผลกระทบทางสังคม สมาคมกับชาวบ้านน้อยลง เขียนหนังสือน้อยลง ภาษาวิบัติ เก็บตัว
ผลกระทบทางสังคม ขยายช่องว่างระหว่างวัยและสถานะทางสังคม อาชญากรรมเพิ่มขึ้นและหลากหลายวิธี คนรุ่นใหม่มองว่าของผิดกฏหมายเป็นเรื่องธรรมดา 13
การใช้งานคอมพิวเตอร์ที่ถูกสุขลักษณะ
สภาพแวดล้อมในการทำงาน ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในที่ทำงานเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม อุณหภูมิของสภาพแวดล้อมขณะใช้งาน ไม่ร้อนอบอ้าวจนเกินไปและไม่หนาวเย็นจนเกินไป อุณหภูมิของผู้ใช้ไม่ควรเกิน 38 องศาเซลเซียส อุณหภูมิของอุปกรณ์ไม่ควรเกิน 55 องศาเซลเซียส http://www.anamai.moph.go.th/
สภาพแวดล้อมในการทำงาน ความชื้นควรอยู่ในช่วง 30-60% ปราศจากฝุ่นละออง กลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ มีแสงสว่างสม่ำเสมอทั่วห้อง ไม่น้อยกว่า 300 lux 16
การวางตำแหน่งร่างกาย พื้นที่วางบนโต๊ะควรมีเนื้อที่เพียงพอที่จะวาง จอคอมพิวเตอร์ได้ ห่างจากสายตา 70 ซม.
การวางตำแหน่งร่างกาย ความสูงของโต๊ะ จะต้องคำนึงด้วยว่าเมื่อวางจอคอมพิวเตอร์แล้ว จอคอมพิวเตอร์จะอยู่ในระดับสายตาพอดี 18
การวางตำแหน่งร่างกาย ปรับความสูงของเก้าอี้ให้เหมาะสมกับลักษณะการเคลื่อนไหวของแขนและเท้า โดยคำนึงถึงความสามารถของแขนในการทำงานบนโต๊ะได้สะดวกสบาย 19
การวางตำแหน่งร่างกาย เท้าควรแตะพื้น ไม่ลอยห้อย 20
การวางตำแหน่งร่างกาย เก้าอี้ควรมีพนักพิงหลัง เพื่อให้รองรับกับกระดูกสันหลัง อาจมีหมอนรองหนุนหลังรองรับความโค้งงอของโครงสร้างกระดูกสันหลัง 21
การวางตำแหน่งร่างกาย หลีกเลี่ยงการวางอุปกรณ์ที่ทำให้ผู้ทำงานต้องเอื้อมมือ ซึ่งมีผลกระทบต่อแขน ไหล่ และหลัง
แสงเข้าจากด้านบน ด้านหลังเยื้องข้าง ประมาณ 45 องศา สภาพแสงในการทำงาน แสงเข้าจากด้านบน ด้านหลังเยื้องข้าง ประมาณ 45 องศา http://www.osha.gov/SLTC/etools/computerworkstations/wkstation_enviro.html
สภาพแสงในการทำงาน หลีกเลี่ยงการหันจอภาพรับแสงจากด้านหลังโดยตรง
สภาพแสงในการทำงาน หลีกเลี่ยงการหันหน้าผู้ใช้สวนทางกับแสงสว่าง
สภาพแสงในการทำงาน ใช้แผ่นกรองแสงที่มีความเข้มพอประมาณ
การบำบัดอาการเบื้องต้น
อาการที่เกิดกับดวงตา ถูมือให้เกิดความร้อน หลับตา เอามือนาบหนังตา 1 นาที ลืมตา กลอกตาจากซ้ายไปขวา ขวาไปซ้าย 4 ครั้ง กลอกตาจากมุมซ้ายไปมุมขวา มุมขวาไปมุมซ้าย 4 ครั้ง ทำข้อ 1 , 2 กวาดสายตาเป็นวงกลม 4 รอบ กวาดลูกตาจากบนลงล่าง ล่างไปบน 4 ครั้ง
อาการที่เกิดกับหลัง นวดบริเวณหลัง นั่งหลังตรง พิงพนัก บิดตัว นวดบริเวณหลัง นั่งหลังตรง พิงพนัก จัดเก้าอี้ไม่ให้สูงเกินไป เข่างอขนานพื้น
อาการของระบบขับถ่าย ดื่มน้ำบริสุทธิ์ บิดร่างกาย ลุกไปเข้าห้องน้ำ 30
อาการปวดหัว หาอากาศบริสุทธิ์ ทายาหม่องที่ขมับแล้วนวดเบา ๆ หยุดพักการทำงาน หาอากาศบริสุทธิ์ ทายาหม่องที่ขมับแล้วนวดเบา ๆ หาเวลาพักผ่อน
รีบปรึกษาแพทย์เพื่อรับการรักษาโดยด่วน หากอาการไม่ทุเลา รีบปรึกษาแพทย์เพื่อรับการรักษาโดยด่วน
http://www.edu.rmutt.ac.th/metee/ictedu