BCS 121 บท 5 การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA
Advertisements

โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
Structure Programming
Structure Programming
การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
05_3_Constructor.
Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
โปรแกรมย่อย : Pascal Procedure
Lecture no. 6 Structure & Union
ครั้งที่ 7 Composition.
C Programming Lecture no. 6: Function.
SCC : Suthida Chaichomchuen
Selected Topics in IT (Java)
PROCEDURE <<โปรแกรมย่อย>>
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)
บทที่ 4 Method (2).
คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)
C# Programming Exceed Camp: Day 3.
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
การเข้าถึงฐานข้อมูล ด้วยกลุ่ม object ADO.NET
Lecture 9 Class (คลาส) To do: Hand back assignments
Inheritance การสืบทอดคลาส
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
บทที่ 3 ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
ความสัมพันธ์ระหว่างคลาส (Class Relationship)
Chapter 16 / Unit 77 : VB : Subprogram & Function Senior Cybernaut ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย SL102017/04C /ISSUE2.
Method of Class อ.สุพจน์ สิงหัษฐิต
โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอรทึ่ม ( ) Lec04 : [ การแปลงจาก FlowChart.
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ (OOAD)
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอริทึ่ม Lec03 : 25/03/2551 การทำงานกับ Event ต่าง ๆ โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม
วิชา :: การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ขั้นสูง
Selection Nattapong Songneam.
เขียนโปรแกรมเพื่อแสดงข้อมูลพนักงาน ด้วย ADO.NET vs. DataReader
Week 2 Variables.
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
Computer Programming for Engineers
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ฟังก์ชัน.
Object-Oriented Programming
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 9 พอยเตอร์. สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง.
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
Midterm outline Object-oriented programming Wattanapong suttapak, Software Engineering, school of Information communication Technology, university of phayao.
Polymorphism กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Object Oriented Programming : OOP
chapter5 - คลาสนามธรรม - อินเตอร์เฟสคลาส
TECH30201 Object-Oriented Programming
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
Object-Oriented Programming
1 Functions กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
1 Inheritance อุทัย เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ 1 บทที่ 1 แนะนำเทคโนโลยีจาวา Introduction to Java Technology.
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
บทที่ 3 การสืบทอด (Inheritance)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

BCS 121 บท 5 การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming) ภาควิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

วัตถุประสงค์ เพื่ออธิบายถึงแนวคิดการโปรแกรมเชิงวัตถุ เพื่อให้ทราบถึงความแตกต่างระหว่างการโปรแกรมเชิงวัตถุกับการโปรแกรมเชิงกระบวนการ เพื่อยกตัวอย่างการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ

การโปรแกรมเชิงวัตถุ แนวคิดที่สำคัญของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ - คลาส (Class) ต้นแบบของออบเจกต์ ที่มีการกำหนดว่า ออบเจกต์ ที่เกิดขึ้นภายใต้คลาสจะประกอบไปด้วย - คุณสมบัติ (Property) - พฤติกรรมหรือการกระทำ (Method) ซึ่งคลาสเป็นโครงสร้างพื้นฐานของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ

การโปรแกรมเชิงวัตถุ (ต่อ) การสร้างคลาสมีรูปแบบ คือ Class ชื่อคลาส รายละเอียดภายในคลาส End Class

การโปรแกรมเชิงวัตถุ (ต่อ) - วัตถุ (Object) โดยมากจะเรียกว่า อ็อบเจกต์ คือ ตัวตน (instance) ของคลาส (เช่น นายทักษิณ, นายสนธิ) ซึ่งจะเกิดขึ้นระหว่างการนำเอาคลาสนั้นมาใช้งานโดยแต่ละออบเจกต์ จะมีพฤติกรรมที่เกิดขึ้นแตกต่างกันฉพาะของตัวเอง ทำให้ ออบเจกต์ แต่ละ ออบเจกต์ ของ คลาสเดียวกันมีคุณลักษณะและคุณสมบัติที่แตกต่างกัน การสร้างออบเจกต์จะทำภายใต้คลาส โดยมีรูปแบบคล้ายการประกาศตัวแปร เช่น Dim Car As New Vehicle รูปแบบ Dim ชื่อ object As New ชื่อ class

การโปรแกรมเชิงวัตถุ (ต่อ) - คุณสมบัติ (Property) จริงๆแล้วก็คือตัวแปรที่สร้างไว้ใน class หรือเรียกว่า data member ของ class การใช้งาน รูปแบบ ชื่อ object.ชื่อคุณสมบัติ

การโปรแกรมเชิงวัตถุ (ต่อ) การสร้างคุณสมบัติ (Property) สามารถทำได้ 2 วิธีคือ 1. การใช้ตัวแปรแบบ Public 2. การใช้ Property Method

การโปรแกรมเชิงวัตถุ (ต่อ) การสร้างคุณสมบัติโดยใช้ตัวแปรแบบ Public การใช้งาน 1. การอ่านค่าจากคุณสมบัติไปเก็บไว้ที่ตัวแปร 2. การกำหนดค่าให้กับคุณสมบัติ รูปแบบ Public ชื่อคุณสมบัติ As ชนิดข้อมูล [= ค่าเริ่มต้น] รูปแบบ ตัวแปร = ชื่อ object.ชื่อคุณสมบัติ รูปแบบ ชื่อ object.ชื่อคุณสมบัติ = ค่าที่จะกำหนด

การโปรแกรมเชิงวัตถุ (ต่อ) ตัวอย่าง Class Vehicle Public Num As Integer = 5 End Class Protected Sub Page_Load(ByVal sender As Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles Me.Load Dim A As New Vehicle Dim B As Integer = A.Num A.Num = 10 Response.Write(A.Num & "<br>") Response.Write(B) End Sub

การโปรแกรมเชิงวัตถุ (ต่อ) การสร้างคุณสมบัติโดยใช้ Property Method มี 3 รูปแบบ 1. การสร้างคุณสมบัติให้สามารถอ่านค่าได้เพียงอย่างเดียว รูปแบบ Public ReadOnly Property ชื่อคุณสมบัติ As ชนิดข้อมูล Get ‘คำสั่งที่จะทำถ้ามีการอ่านค่าคุณสมบัติ End Get End Property

การโปรแกรมเชิงวัตถุ (ต่อ) ตัวอย่าง Class Vehicle Public Num As Integer = 5 Public ReadOnly Property Num1() As Integer Get Return Num End Get End Property End Class Protected Sub Page_Load(ByVal sender As Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles Me.Load Dim A As New Vehicle Dim B As Integer = A.Num1 A.Num1 = 10 End Sub คำสั่งนี้ใช้ไม่ได้

การโปรแกรมเชิงวัตถุ (ต่อ) 2. การสร้างคุณสมบัติให้สามารถกำหนดค่าได้เพียงอย่างเดียว รูปแบบ Public WriteOnly Property ชื่อคุณสมบัติ As ชนิดข้อมูล Set ‘คำสั่งที่จะทำถ้ามีการกำหนดค่าให้กับคุณสมบัติ End Set End Property

การโปรแกรมเชิงวัตถุ (ต่อ) ตัวอย่าง Class Vehicle Public Num As Integer = 5 Public WriteOnly Property Num1() As Integer Set(ByVal value As Integer) Num = value End Set End Property End Class Protected Sub Page_Load(ByVal sender As Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles Me.Load Dim A As New Vehicle Dim B As Integer = A.Num1 A.Num1 = 10 End Sub คำสั่งนี้ใช้ไม่ได้

การโปรแกรมเชิงวัตถุ (ต่อ) 3. การสร้างคุณสมบัติให้สามารถอ่านค่าและกำหนดค่าได้ Public Property ชื่อคุณสมบัติ As ชนิดข้อมูล Get ‘คำสั่งที่จะทำถ้ามีการอ่านค่าคุณสมบัติ End Get Set ‘คำสั่งที่จะทำถ้ามีการกำหนดค่าให้กับคุณสมบัติ End Set End Property รูปแบบ

การโปรแกรมเชิงวัตถุ (ต่อ) Class Vehicle Public Num As Integer = 5 Public Property Num1() As Integer Get Return Num End Get Set(ByVal value As Integer) Num = value End Set End Property End Class Protected Sub Page_Load(ByVal sender As Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles Me.Load Dim A As New Vehicle Dim B As Integer = A.Num1 A.Num1 = 10 Response.Write(B & "<br>") Response.Write(A.Num) End Sub ตัวอย่าง

การโปรแกรมเชิงวัตถุ (ต่อ) - พฤติกรรมหรือการกระทำ (Method) จริงๆแล้วก็คือโพรซีเยอร์หรือฟังก์ชันที่สร้างไว้ใน class หรือเรียกว่า function member ของ class การใช้งานมี 2 รูปแบบ 1. แบบไม่มีพารามิเตอร์ 2. แบบมีพารามิเตอร์ รูปแบบ ชื่อ object.ชื่อ method รูปแบบ ชื่อ object.ชื่อ method(พารามิเตอร์ 1,พารามิเตอร์ 2,...)

การโปรแกรมเชิงวัตถุ (ต่อ) การสร้างพฤติกรรมหรือการกระทำ (Method) มี 2 แบบ 1. Method ที่เป็นโพรซีเยอร์ 2. Method ที่เป็นฟังก์ชัน Public Sub ชื่อ Method(พารามิเตอร์ 1,พารามิเตอร์ 2,...) ‘การทำงาน End Sub รูปแบบ Public Function ชื่อ Method(พารามิเตอร์ 1,พารามิเตอร์ 2,...) As ชนิดข้อมูลที่ต้องการส่งกลับ ‘การทำงาน End Sub รูปแบบ

การโปรแกรมเชิงวัตถุ (ต่อ) Class Vehicle Public Function Add(ByVal A As Integer, ByVal B As Integer) As Integer Return (A + B) End Function End Class Protected Sub Page_Load(ByVal sender As Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles Me.Load Dim A As New Vehicle Response.Write(A.Add(5, 10)) End Sub ตัวอย่าง