ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
การเขียนผลงานวิชาการ
ทักษะการคิดขั้นสูงของบลูม (Bloom’s Taxonomy)
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
กระบวนการวิจัย(Research Process)
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
รายงานการวิจัย.
การจัดกิจกรรม สำหรับพ่อแม่เด็กอายุ 0 – 5 ปี
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
การศึกษารายกรณี.
ระดับขั้นจุดประสงค์การเรียนรู้ของ Bloom
งานนำเสนอ Akanet Maneenut
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนาการปิด การเจรจาต่อรอง
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การจัดกระทำข้อมูล.
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
“Backward” Unit Design?
การอ่าน วิชาศท ๐๓๑ การใช้ภาษาไทย.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การวัดผล (Measurement)
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
การเขียนแผนแบบUBD.
การปลูกพืชผักสวนครัว
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ทักษะการคิดวิเคราะห์
การอ่านเชิงวิเคราะห์
สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
บทที่ 11.
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นางสาวดลลดา สังฆสุวรรณ โรงเรียนสงวนหญิง จ.สุพรรณบุรี
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิธีการคิดวิเคราะห์.
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา
การเรียนทางคลินิก โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
สรุปวิธีสอนที่ใช้ในการฝึกอบรม
กระบวนการ การออกแบบการเรียนการสอน แนวคิดสำคัญ เริ่มจากการคิดทุกอย่างให้จบสิ้น จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ ผลผลิตที่ต้องการ เป็นหลักฐาน พยานแห่งการเรียนรู้
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ความคิดรวบยอดสอน อย่างไร : การใช้คำถาม คุณภาพของ คำถาม คำถามมีหลายประเภท คุณภาพ ของคำถามจึงอยู่ที่ ลักษณะของ คำถาม และลักษณะการตั้งคำถาม.
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม การตั้งคำถามเพื่อให้ผู้เรียนทำความเข้าใจในสิ่งที่เขากำลังศึกษา เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะใช้ในการสอนเพื่อพัฒนาความคิดรวบยอดได้

ประเภทของคำถาม ตามแบบของ Bloom ประเภทของคำถามเป็นการจัดตามแบบของ Bloom ที่กล่าวถึง taxonomy ที่ใช้เป็นจุดประสงค์ของการจัดการศึกษาว่าเป็นลำดับขั้นจาก ง่ายไปยากการตั้งคำถามก็สามารถจัดเป็นลำดับขั้นตามนี้ได้เช่นกัน คำถามประเภทความรู้ความเข้าใจ คือการตั้งคำถามเพื่อให้ผู้ตอบคิดทบทวนความรู้จากการจำ หรือค้นหา คำตอบจากผู้รู้หรือแหล่งความรู้โดยตรง

ประเภทของคำถาม ตามแบบของ Bloom (ต่อ) คำถามประเภทความเข้าใจ เป็นคำถามที่มุ่งให้ผู้ตอบต้องอาศัยการแปลความหรือลงความเห็น คาดคะเนอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยอาศัยข้อมูลที่กำหนดให้เท่านั้น คำถามประเภทการประยุกต์ เป็นคำถามที่ผู้ตอบต้องมีความรู้และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับคำถามนั้น แล้วนำความรู้และประสบการณ์เดิมนั้นมาใช้เทียบเคียงกับความรู้หรือ ประสบการณ์ใหม่ที่มีอยู่ในคำถามนั้น

ประเภทของคำถาม ตามแบบของ Bloom (ต่อ) คำถามประเภทการวิเคราะห์ เป็นคำถามที่มุ่งให้ผู้ตอบต้องตรวจสอบรายละเอียดที่อยู่ในข้อมูลนั้น อย่างเข้าใจ พิจารณาความสัมพันธ์เกี่ยวข้องของส่วนต่างๆ ที่อยู่ในข้อมูลนั้น คำถามประเภทการสังเคราะห์ เป็นคำถามที่ผู้ตอบต้องมีความสามารถในการค้นหาคำตอบด้วยตัวของเขา เอง โดยอาศัยการประมวลความรู้ ที่มีอยู่เดิม เกิดเป็นความรู้ใหม่ การเกิดความคิดรวบยอดของคนเราจัดว่าอยู่ในระดับการสังเคราะห์

ประเภทของคำถาม ตามแบบของ Bloom (ต่อ) คำถามประเภทการประเมิน เป็นคำถามที่ผู้ตอบแสดงออกถึงการเลือกตัดสินใจว่าอะไรมีคุณค่า โดยใช้หลักวิชาการเข้ามาพิจารณาในการตัดสินใจ

Orilich (1985) ได้จัดกลุ่มคำถามออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ คำถามแบบ convergent เป็นคำถามที่ผู้ตอบจำความรู้ เฉพาะอย่างมาตอบ มีคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว คำถามแบบ divergent เป็นคำถามที่มีคำตอบได้หลากหลาย ฝึกการคิดอย่างมีวิจารณญาณ คำถามแบบ evaluative เป็นคำถามที่พัฒนาสติปัญญาสูงสุด

คำถามมีกี่ประเภท นักการศึกษาจัดคำถามไว้หลายประเภท หลากหลายกันไป ประเภทของคำถามจะมีการจัดเป็นกลุ่ม เป็นพวก คำถามแต่ละกลุ่ม แต่ละประเภท สะท้อนให้เห็นการถามเพื่อ พัฒนาสติปัญญาในระดับต่างๆ กัน