พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

ด.ญ.กชกร โชคเฉลิมวงศ์ เลขที่ 15 ป.4/3
วงจรการประยุกต์ความรู้
นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
เศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขการตัดสินใจ แนวทางปฏิบัติ หลักพิจารณา
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
โครงการปิดทองหลังพระ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ Chulabhorn Research Institute.
เศรษฐกิจพอเพียง.
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ภูมิพลอดุลยเดช
84 พรรษา องมหาชัน.
ด.ญ.สุพรรณิกา วัฒนภูษิตสกุณ
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ นันทิตา ชนปทาธิป ชั้นป.4/2 เลขที่28
โดยเด็กชายทรงธรรม รูปสวยดี
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
“แนวทางการดำเนินงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ”
เมนูหลัก เนื้อหา อาจารย์ที่ปรึกษา ประวัติผู้จัดทำ.
โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
Participation : Road to Success
ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนราธิวาส
การสื่อสารเป็นปัจจัยที่ สำคัญยิ่งอย่างหนึ่งในการ พัฒนาสร้างสรรค์ความ เจริญก้าวหน้า รวมทั้งการ รักษาความมั่นคงและความ ปลอกภัยของประเทศด้วย ยิ่ง ในปัจจุบัน.
เพื่อความเป็นพลเมือง (Civic Education)
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เรารักในหลวง เรารักในหลวง.
( Human Relationships )
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ความรู้สู่การประชาสัมพันธ์งาน ด้านการศึกษา คณะวารสารศาสตร์และ สื่อสารมวลชน Knowledge Management.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
สรุปผลการประชุมกลุ่มที่ 3
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มอบนโยบายการ บริหารงาน กระทรวงคมนาคม 5 พฤศจิกายน 2555.
By Supach Futrakul. By Supach Futrakul ณ หมู่บ้านแห่งหนึ่งมีเป็นหมู่บ้านที่จนมากอยู่บนภูเขาที่มีความแห้งแล้งมาก.
เรื่อง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ผู้จัดทำ นางสาว ดารุณี พรนิคม เลขที่ 13 นางสาว ธนัชพร ภู่มาลา เลขที่ 14 นางสาว นุสรา ไชยโยธา เลขที่ 16 นางสาว.
วันแม่แห่งชาติ ด.ญ.ฐิติรัตน์ พิมพ์ทอง.
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
พระคุณพ่อหลวง พ่อหลวงรักเรา เรารักพ่อหลวง ถัดไป.
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช.พีรดนย์ ศรีสอน.
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเข้าพระราชหฤทัยในความเป็นไปของเมืองไทยและคนไทยอย่างลึกซึ้งและกว้างไกล ได้ทรงวางรากฐานในการพัฒนาชนบท และช่วยเหลือประชาชนให้สามารถพึ่งตนเองได้มีความ.
หลักการเขียนโครงการ.
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
ศูนย์ปฏิบัติการข่าว เกษตร สำนักงานเกษตรอำเภอ บ้านสร้าง อำเภอบ้านสร้าง จังหวัด ปราจีนบุรี ฉบับที่ ๒ ประจำเดือน กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔.
วันแม่แห่งชาติ 12 สิงหาคม 2558.
นโยบายและแนวคิด โรงพยาบาลคุณธรรม.
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
เศรษฐกิจพอเพียง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว Anubansuphanburi School.

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดย วัชราภรณ์ เพ็งสุข

พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชสมภพ ณ โรงพยาบาล เมานท์ออเบอร์น (Mount Auburn) เมืองเคมบริดจ์ (Cambridge) รัฐแมสสาชูเซตต์  (Massachusetts) สหรัฐอเมริกา เมื่อวันจันทร์ เดือนอ้าย ขึ้น ๑๒ ค่ำ ปีเถาะ นพศก จุลศักราช  ๑๒๘๙ ตรงกับวันที่ ๕ ธันวาคม  พุทธศักราช ๒๔๗๐  มีพระนามเดิมว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช เป็นพระโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระราชบิดา เจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช  กรมหลวงสงขลานครินทร์ (พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี) และสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์

พระราชประวัติ (ต่อ) ซึ่งภายหลังทั้งสองพระองค์ได้รับการเฉลิมพระนามาภิไธย  เป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร  อดุลยเดชวิกรม  พระบรมราชชนก  และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี  มีพระเชษฐภคินี และสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา  กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ที่ ๖ พฤษภาคม  พุทธศักราช  ๒๔๖๖  ณ กรุงลอนดอน  ประเทศอังกฤษ  กับพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล  เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอาทิตย์ที่ ๒๐ กันยายน  พุทธศักราช  ๒๔๖๘ ณ เมืองไฮเดลแบร์ก  ประเทศเยอรมนี

พระราชดำริเกี่ยวกับการศึกษา "การศึกษาเป็นเครื่องมืออันสำคัญในการพัฒนาความรู้ความคิด ความประพฤติ ทัศนคติ ค่านิยมและคุณธรรมของบุคคล พระราชดำริเกี่ยวกับการศึกษา เพื่อให้เป็นพลเมืองดีมีคุณภาพและประสิทธิภาพ การพัฒนาประเทศก็ย่อมทำได้สะดวกราบรื่น ได้ผลที่แน่นอนและรวดเร็ว" (๒๒ กรกฎาคม ๒๕๒๐) แนวพระราชดำริเกี่ยวกับการศึกษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว        "การศึกษาเป็นเครื่องมืออันสำคัญในการพัฒนาความรู้ ความคิด ความประพฤติ ทัศนคติ ค่านิยม และคุณธรรมของบุคคล เพื่อให้เป็น พลเมืองดีมีคุณภาพและประสิทธิภาพ การพัฒนาประเทศก็ย่อมทำได้สะดวกราบรื่น ได้ผลที่แน่นอนและรวดเร็ว"

พระราชกรณียกิจ ด้านการพัฒนาชนบท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ ไปทุก หนแห่งไม่ว่าดินแดนแห่งนั้นจะทุรกันดาร เพียงใด ไม่ว่าใกล้ไกลแค่ไหน พระองค์จัดทำ โครงการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ ควบคู่ไปในทุกๆ ด้าน ไม่เน้นด้านใดด้าน หนึ่ง พระองค์มีจุดประสงค์เดียวคือ เพื่อขจัด ความทุกข์ยากของชาวชนบท และสนับสนุน ส่งเสริมให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น รวมทั้ง แก้ปัญหาสังคมเมืองให้ดีขึ้น โดยจะเห็นได้ จากโครงการในพระราชดำริหลายโครงการ ที่เกิดขึ้นจากความรับผิดชอบของหน่วยงาน ต่างๆ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริจะเป็น โครงการเกี่ยวกับปรับปรุงถนนหนทาง การ ก่อสร้างถนนเพื่อการ สัญจรไปมาได้สะดวก และทั่วถึง การคมนาคมเป็นปัจจัยพื้นฐานที่ สำคัญของการนำความเจริญไปสู่ชนบท การ สื่อสาร ติดต่อที่ดียังผล สำคัญทำให้ เศรษฐกิจของราษฎรในพื้นที่ดีขึ้น ราษฎรก็ มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ในการพัฒนาชนบท นั้น การคมนาคม เป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญ ที่จะมองข้ามไปเสียมิได้ เพราะเป็นเสมือน ประตูเชื่อม ระหว่างในเมือง และชนบท ดังนั้น การที่จะเริ่มโครงการพัฒนาใดๆ นั้น จะต้องเริ่มจากการปรับปรุง และการ ก่อสร้างถนนหนทางเป็นการเปิดประตูนำ ความเจริญเข้าไปสู่พื้นที่